Page 58 -
P. 58

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 56                        Thai J. For. 33 (1) : 47-56 (2014)




                 ประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ อยู่ในระดับ  ป่าไม้ บริเวณพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงระแนง เพื่อ
                 ปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.53 คะแนน จ�าแนกระดับ  ให้เกิดการจัดการตามสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่
                 การมีส่วนร่วมออกเป็นรายด้านได้ ดังนี้ 1) การมีส่วน  และเป็นไปตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่ต่อไป
                 ร่วมศึกษาปัญหา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.85 คะแนน 2) การมี  และ 3) ในการท�างานวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาถึง
                 ส่วนร่วมวางแผน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.43 คะแนน 3) การมี  ปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
                 ส่วนร่วมปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.45 คะแนน และ   ทรัพยากรป่าไม้เพิ่มเติมอีกด้วย เพื่อใช้เป็นการเปรียบ
                 4) การมีส่วนร่วมตรวจสอบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.37 คะแนน  เทียบและสามารถสรุปผลได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น
                        3. ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน
                 ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ บริเวณป่าสงวนแห่งชาติ    เอกสารและสิ่งอ้างอิง

                 ป่าดงระแนง พบว่า ประชาชนที่มีความแตกต่างทาง
                 ด้านอายุ ระดับการศึกษา อาชีพรอง ขนาดพื้นที่ถือครอง   กรมป่าไม้. 2551.  สถิติการป่าไม้ของประเทศไทยปี
                 จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน จ�านวนแรงงานในครัวเรือน     2545.  ส�านักงานแผนงานและสารสนเทศ,
                 ระยะเวลาในการตั้งถิ่นฐาน การเป็นสมาชิกเครือข่าย การ  กรุงเทพฯ.
                 รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับป่าไม้ การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยว  นิวัติ  เรืองพานิช. 2541.  นิเวศวิทยาทรัพยากรธรรมชาติ.
                 กับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และการได้รับประโยชน์   โรงพิมพ์รั้วเขียว. กรุงเทพฯ.
                 จากป่าไม้  เป็นปัจจัยที่มีผลต่อระดับการมีส่วนร่วมของ  พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2540.  วิธีการวิจัยทางพฤติกรรม

                 ประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ บริเวณพื้นที่    ศาสตร์และสังคมศาสตร์.  โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
                 ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงระแนง                           มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.
                        4. ในการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะคือ 1) จาก  ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ.  2524.  หลักการวิจัย
                 การวิจัยในครั้งนี้พบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชน     ทางการศึกษา. โรงพิมพ์ทวีกิจการพิมพ์,
                 ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้บริเวณพื้นที่ป่าสงวนแห่ง  กรุงเทพฯ.
                 ชาติป่าดงระแนงโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งเมื่อ  ส�านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  2550. รัฐธรรมนูญ
                 พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าการมีส่วนร่วมด้านการติดตาม   แห่งราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช  2550.
                 และประเมินผลอยู่ในระดับปานกลางมีค่าเฉลี่ย 2.37      กองการพิมพ์ส�านักงานเลขาธิการสภาผู้แทน
                 คะแนน ซึ่งมีค่าน้อยกว่ากว่าด้านอื่นๆ ดังนั้นจึงควรมี  ราษฎร.  กรุงเทพฯ.

                 การส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ประชาชนเข้ามามีบทบาท  สุบงกช  จงมีกร.  2526.  สถิติวิเคราะห์ส�าหรับงาน
                 มากขึ้น ในการเข้ามามีส่วนร่วมโดยการแสดงความคิดเห็น  วิจัยด้านสังคมศาสตร์.  ภาควิชาสถิติ  คณะ
                 และการให้ความร่วมมือในการติดตามและประเมินผล         วิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
                 เกี่ยวกับเรื่องที่จะเป็นประโยชน์ส�าหรับการอนุรักษ์ทรัพยากร  กรุงเทพฯ.
                 ป่าไม้ ซึ่งจะส่งผลดีต่อการด�าเนินการของหน่วยงานที่  ส�านักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น). 2555.
                 เกี่ยวข้องและท�าให้เกิดความยั่งยืนของทรัพยากรป่าไม้  โครงการจัดการทรัพยากรป่าไม้เฉพาะพื้นที่.
                 อีกด้วย 2) หน่วยงานด้านป่าไม้ในพื้นที่ ควรน�าผลการ  ส่วนส่งเสริมการปลูกป่า,  ขอนแก่น.

                 ศึกษาการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของ  Yamane T.  1973.  Statistics: An  Introductory
                 ประชาชนเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะของ      Analysis. 3   ed., Harper International
                                                                               rd
                 ประชาชนตัวอย่าง มาใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดการ      Edition, Tokyo.
                 ด้านส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการอนุรักษ์ทรัพยากร
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63