Page 61 -
P. 61
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 57-65 (2557) 59
์
คงเหลือประมาณ 107.61 ไร่หรือร้อยละ 33.56 (กรม ค�านวณหาขนาดของครัวเรือนตัวอย่างเพื่อใช้เป็นตัวแทน
ป่าไม้, 2545) ของหมู่บ้านทั้งหมด โดยใช้สูตรของ Yamane (1973)
อนึ่ง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าภูระง�า ยัง ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และความคลาดเคลื่อน
มีทรัพยากรป่าไม้อุดมสมบูรณ์ มีพื้นที่ที่มีอาณาเขต ของการสุ่มตัวอย่างเท่ากับ .05 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
คาบเกี่ยวอ�าเภอแวงใหญ่ อ�าเภอแวงน้อย อ�าเภอชนบท ที่ต้องการศึกษา จ�านวน 291 ครัวเรือน จากนั้นน�าไป
อ�าเภอพล อ�าเภอปัญจาคีรี และมีพื้นที่ที่ถูกบุกรุกท�า ค�านวณหาจ�านวนครัวเรือนตัวอย่างของแต่ละหมู่บ้าน
การเกษตรมาก่อน โอกาสในการฟื้นฟูเพื่อให้ความ โดยใช้สูตรการกระจายตามสัดส่วน (สุบงกช, 2526) โดย
อุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้กลับคืนมาจะต้องได้รับ หมู่บ้านวังหว้า ตลาดน้อย บ้านป่าไม้งาม บ้านแสงอรุณ
ความร่วมมือจากราษฎรในท้องที่ประกอบกับราษฎรที่ บ้านโสกเหลี่ยม บ้านท่าเยี่ยม บ้านห้วยยาง บ้าน
ได้บุกรุกพื้นที่ท�าการเกษตรมาแล้วได้มีกลุ่มราษฎรกลุ่ม หนองยายเกลี้ยง บ้านหนองเต่าน้อย และบ้านห้วยไร่
ใหม่ที่มีความต้องการพื้นที่ท�าการเกษตรกรรม ก็จะใช้ เหนือ มีจ�านวนครัวเรือนตัวอย่างที่ต้องการศึกษาเท่ากับ
เป็นข้ออ้างในการจับจอง ถึงแม้มาตรการทางกฎหมาย 24, 18, 27, 29, 17, 24, 44, 21, 21 และ 66 ครัวเรือน ตามล�าดับ
ของกรมป่าไม้จะบังคับใช้เต็มความสามารถตลอดมา
ก็ยังไม่สามารถที่จะปรับเปลี่ยนทัศนคติของราษฎรได้ การสร้างแบบสอบถาม
จากสถานการณ์การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ใน สร้างแบบสอบถาม โดยครอบคลุมตาม
ประเทศไทยในปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และปัญหาบุกรุก วัตถุประสงค์ และตัวแปรทุกตัวที่ศึกษา ก�าหนดไว้ตาม
ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูระง�า ผู้วิจัยจึงมีความ กรอบแนวคิด และท�าการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิง
สนใจศึกษาการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ลักษณะส่วน เนื้อหาโดยน�าแบบสอบถามไปปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญ
บุคคลและลักษณะด้านสังคม ทัศนคติของประชาชนรอบ เพื่อขอค�าแนะน�าในการปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถาม
ป่าสงวนแห่งชาติ แรงจูงใจต่อทรัพยากรป่าไม้ และการ ให้ตรงตามเนื้อหาและครอบคลุมถึงวัตถุประสงค์ในการ
ได้รับข้อมูลข่าวสารของประชากร จากการด�าเนินงาน ท�าวิจัย และเป็นไปตามหลักและทฤษฎีในเรื่องที่ศึกษา
ของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่ผ่านมาว่าปรากฏ จากนั้นน�าแบบสอบถามไปทดสอบ จ�านวน 30 ชุด กับ
ผลอย่างไร มีปัญหาอุปสรรค และมีความต้องการเข้ามามี ราษฎรที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านใกล้เคียงกับพื้นที่ที่ท�าการ
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่เพียงใด ศึกษา แล้วน�าผลที่ได้มาตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
ระดับใด เพื่อได้น�าผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ประกอบ ด้วยวิธีของ Cronbach (พวงรัตน์, 2540) ซึ่งได้ค่าสัมประสิทธิ์
การจัดท�าแผนอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละพื้นที่ อัลฟา ของค�าถามตัวแปรตาม เท่ากับ 0.934 ส่วนความรู้
ของท้องที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูระง�า อ�าเภอแวงใหญ่ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ตรวจสอบความ
และอ�าเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น น่าเชื่อถือ โดยวิธีของ Kuder Richardson, (K.R.20) (ยุทธ
อุปกรณ์และวิธีการ และกุสุมา, 2553) มีค่าเท่ากับ 0.714 และน�าแบบสอบถาม
ที่ผ่านการทดสอบความเชื่อมั่นไปปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เหมาะสม
ประชากรเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้ คือ
ราษฎรในอ�าเภอชนบทและอ�าเภอแวงใหญ่ จังหวัด การวิเคราะห์ข้อมูล
ขอนแก่น ที่อาศัยอยู่รายรอบใกล้กับขอบเขตอยู่ติดกับ 1. ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
ขอบเขตและอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าภูระง�า ซึ่งเป็น จ�ำนวน 15 ข้อ มีกำรให้คะแนนดังนี้ ตอบถูกได้ 1 คะแนน
พื้นที่ที่ท�าการศึกษา จ�านวนทั้งสิ้น 1,062 ครัวเรือน และ ตอบผิดได้ 0 คะแนน และใช้ค่ำเฉลี่ยในกำรแบ่งระดับ