Page 94 -
P. 94

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              92                        Thai J. For. 31 (1) : 87-104 (2012)



              ปจจุบัน (สามารถ ม.ป.ป.)                     ดานอื่นๆ ระลอกใหมๆ เชน พุทธศาสนาหลายนิกาย
                                                           วรรณคดีทางพุทธศาสนา และการเขียนลายลักษณ
              การตั้งถิ่นฐานของชาวมอญในประเทศไทย           อักษร (นิธิ, 2547)

                     พงศาวดารทั้งของพมาและของไทย ยืนยัน          ทามกลางความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในลุม
              วาอารยธรรมมอญรุงเรืองในพมาตอนลางกอนพุทธ  นํ้าเจาพระยา โดยการเขามาของอิทธิพลเขมรทั้งใน
              ศตวรรษที่ 14 แตขาดหลักฐานในสวนรายละเอียดทาง  ทางวัฒนธรรมและการเมืองเปนครั้งคราว รวมทั้งการ
              ฝงพมา ทั้งนี้เนื่องจากการขุดคนและศึกษาหลักฐาน  เขามามีอํานาจสูงเดนของวัฒนธรรมไทย ประชาชน
              โบราณคดีทางพมามีนอย ซึ่งในบริเวณพมาตอนลาง  กลุมชาติพันธุมอญในรุนนี้โดยสวนใหญไดผสม

              ในปจจุบันยังไมเคยมีการขุดคนหรือการศึกษาที่เปน  กลมกลืนเขาไปกับประชากรที่มีความหลากหลายใน
              ระบบ หลักฐานทางโบราณคดีสวนใหญจึงถูกพบใน    ทองถิ่นตางๆ จนสูญสิ้นอัตลักษณมอญของตนเอง
              ประเทศไทย ทําใหนักวิชาการสวนใหญสันนิษฐานวา  ไป วัฒนธรรมที่มีลักษณะเดนที่เปนมอญกลับไปมี
              อารยธรรมมอญยุคแรกเริ่มอยูที่ลุมแมนํ้าเจาพระยา แต  ศูนยกลางอยูในลุมนํ้าอิระวดีและสาละวินตอนลาง
              มีความเปนไปไดวาทั้งลุมแมนํ้าเจาพระยาและทางพมา  แตเพียงพื้นที่เดียว ทั้งนี้ประชาชนพื้นถิ่นของลุมนํ้า

              ตอนลางเปนแหลงอารยธรรมที่เจริญรุงเรืองควบคูกัน  เจาพระยาตอนลาง รวมไปถึงชาวลัวะและคนเมืองใน
              มา (Guilon, 1999)                            ลุมนํ้าปงตอนบนไดกลายเปนคนไทยที่สุด และคน
                     ในลุมนํ้าเจาพระยาพบอาณาจักรเกาแกซึ่ง  เมืองทั้งหมดลวนมีเชื้อสายมอญอยูในตัวมากบางนอย
              สืบเนื่องกับแหลงอารยธรรมตั้งแตยุคเหล็ก เรียกตาม  บาง (นิธิ, 2547)
              หลักฐานจีนวาทวารวดี คําวา “ทวารวดี” มาจากชื่อที่     เนื่องจากชาวมอญที่ผสมกลมกลืนเขาไปกับ
              ปรากฏบนเหรียญเงิน 2 เหรียญ ซึ่งพบที่พระปฐมเจดีย  กลุมคนอื่นๆ ในสมัยทวารวดีแลว ยังมีการอพยพของมอญจาก

              ในจังหวัดนครปฐม และที่อินทรบุรี เปนคําจารึกภาษา  พมาเขาสูไทยหลายระลอก มีหลักฐานกลาวถึงเปนครั้ง
              สันสกฤตวา “ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ”  มีความหมาย  แรกใน พ.ศ. 2082 (สมัยสมเด็จพระชัยราชาธิราช) เมื่อพระ
              วา “พระเจาศรีทวารวดีผูมีบุญอันประเสริฐ” (ธิดา,   เจาตะเบงชเวตี้ทําสงครามชนะ มีอํานาจเหนืออาณาจักร
              2545) และมีนักวิชาการบางทานสรุปวาประชากรของ  หงสาวดี ชาวมอญจํานวนมากพากันอพยพหลบหนีเขา
              อาณาจักรนี้เปนมอญ แมวาประชากรของทวารวดีใน  มายังราชอาณาจักรไทย และมีการอพยพเขามาอยาง

              ลุมนํ้าเจาพระยา รวมทั้งลุมนํ้าปงตอนบนคือหริภุญ  ตอเนื่องอีกหลายครั้ง จนถึง พ.ศ. 2367 (สมัยพระบาท
              ไชย คงไมใชกลุมชาติพันธุเดียวแตคงมีชนชาติอื่นๆ   สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว) ถือเปนการอพยพเขามา
              ปะปนอยูดวย แตไมอาจปฏิเสธไดวาวัฒนธรรมมอญ  อยางเปนทางการครั้งสุดทาย เนื่องจากอังกฤษเริ่มทํา
              เปนวัฒนธรรมที่โดดเดนวัฒนธรรมหนึ่งในอาณาจักรนี้    สงครามกับพมา อังกฤษเขายึดครองบริเวณที่เปนเมือง
              และถือไดวาภาษามอญเปนภาษาที่สูง (การใชภาษาใน  เกาของมอญ และผนวกเขาเปนจังหวัดหนึ่งของอินเดีย
              ระดับยากที่ตองการความสละสลวย) อิทธิพลของทวาร       ชาวมอญที่อพยพออกจากดินแดนพมานั้น

              วดียังไดแผขยายไปทั่วประเทศไทย รวมถึงกัมพูชาและ  สาเหตุที่สําคัญคือการตกอยูภายใตอํานาจการปกครอง
              ลาว ซึ่งนอกจากสกุลชางอันเปนผลงานตามลักษณะ  ของพมา ถูกบีบคั้นทางการเมือง ความเดือดรอนจาก
              ขนบนิยมของทวารวดีตามชื่อที่นักประวัติศาสตรศิลปะ  การถูกกดขี่ เกณฑแรงงานไปใชในการกอสราง ทําการ
              ไดเรียกชื่อศิลปะแบบมอญในชวงเวลานี้แลว นาจะเปน  เกษตรรวบรวมเสบียงอาหารใหกองทัพพมากอนการ

              ไปไดวาทวารวดียังเปนสื่อกลางที่สงตออารยธรรม
                                                           ยกทัพเขาทําสงครามกับชาติตางๆ มากกวาจะเปน
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99