Page 96 -
P. 96

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              94                        Thai J. For. 31 (1) : 87-104 (2012)



              ปลาย มอญที่มาอยูอาศัยบริเวณปากลัดนี้ไดแยกยายกัน  มาก
              อยูเปนหมูบาน เทาที่คนพบและมีหลักฐานอางอิงนั้น     ในดานอาหารการกิน นับวาคนมอญปากลัด
              มีจํานวน 16 หมูบาน ใน 4 ตําบล ซึ่งจะมีคําวากวาน   สามารถปรับตัวเขากับคนไทยไดเปนอยางดี ลักษณะ

              แปลวาหมูบาน นําหนา แตละกวานตั้งชื่อเดิมตามถิ่นที่  ของอาหารก็มีประเภทตางๆ เชน ยํา ผัด ทอด นํ้าพริก
              ตนเคยอยูในเมืองมอญ บางแหงก็ตั้งชื่อใหมตามสภาพ  และปลารา มีแกงบางชนิดที่คนมอญนิยมรับประทาน
              ภูมิศาสตรในที่ตั้งใหม เชน หมูบานทรงคนอง มาจาก  กันมาก ไดแก แกงสมใบกระเจี๊ยบ แกงสมลูกมะตาด
              คําวา ดาด ฮะเนิง แปลวา นํ้าเค็ม เพราะตั้งอยูริมแมนํ้า  แกงสมลูกมะสั้น แกงปลาลูกโยน สวนขนม ไดแก
              เจาพระยาที่มีนํ้าเค็มขึ้นถึง                กวันกวี่ (ขนมเทียน) กวันอะเวี้ยก (ขนมเบื้อง) และ

                     ความเปนอยูของชาวมอญปากลัดก็เชน     กวานฮะกอ (ขนมกาละแม) (สํานักงานคณะกรรมการ
              เดียวกันกับมอญโดยทั่วๆ ไป กลาวคือ ชอบอยูรวมกัน  วัฒนธรรมแหงชาติ ม.ป.ป.)
              เปนกลุม มีการดําเนินชีวิตที่เรียบงาย ไมชอบเบียดเบียน     ชาวมอญมีความเลื่อมใสศรัทธาในพุทธ
              ใคร แตกอนผูชายมีสิทธิเหนือกวาผูหญิงในทุกๆ ดาน  ศาสนาอยางสูงและลึกซึ้ง ขณะเดียวกันก็นับถือผี
              ตามทัศนคติที่วาผูชายสามารถบวชเรียนได ผูเปนพอ  บรรพบุรุษ และอํานาจเหนือธรรมชาติอื่นๆ อีกดวย
              จะไมใกลชิดกับลูกผูหญิง แมแตพี่ชายก็ไมใกลชิดนอง  ทําใหเกิดขนบธรรมเนียมประเพณีหลายอยางที่ไดรับ

              สาวเชนเดียวกัน เพราะถือวาผูชายจะตองเปนหลักของ  การถายทอดมาจากบรรพบุรุษ เพื่อเปนแนวทางชี้แนะ
              ครอบครัวจึงตองรูจักวางตัวใหเหมาะสม        ในการดําเนินชีวิต ซึ่งทําใหประเพณีและความเชื่อ
                     ลักษณะการตั้งบานเรือนในระยะแรกที่มอญ  ตางๆ ยังคงไดรับการสืบทอดและมีความมั่นคงเรื่อย
              ไดยายมาอยูที่ปากลัด การสรางบานจะมีลักษณะทรง  มา สําหรับชุมชนมอญปากลัดมีประเพณีที่โดดเดน

              เตี้ย มีเพิงยื่นไปทางหนาบาน ฝาบานสวนใหญจะทํา  ซึ่งอาจแตกตางจากชุมชนมอญที่อื่นบางตามสภาพ
              ดวยไมไผที่เรียกวา ฝาขัดแตะ หลังคามุงจาก ตอเมื่อมี  พื้นที่และลักษณะของชุมชน สวนใหญเปนประเพณีที่
              ฐานะดีขึ้นจึงเปลี่ยนมาเปนทรงไทยและเปนที่นิยมกัน  เกี่ยวของกับศาสนา โดยแบงออกไดเปน  5 ประเภท  คือ
              โดยทั่วไปจนถึงปจจุบัน                       (ฉวีวรรณ ม.ป.ป., ประพันธพงษ ม.ป.ป.  และสํานักงาน
                     อาชีพหลักของมอญปากลัด คือ การทํานา    เทศบาลเมืองพระประแดง, 2550)
              เหมือนที่ยังอยูในพมาตอนใต เมื่อยังมาอยูเมืองไทย       1) ประเพณีที่เกี่ยวของกับศาสนา ไดแก

              ก็ยังคงยึดอาชีพที่ตนถนัด แตพื้นที่ที่ปากลัดนั้นไม  ประเพณีสงขาวสงกรานต  ประเพณีแหหงส-ธงตะขาบ
              เหมาะแกการทํานา ดังนั้นคนมอญจึงตองแสวงหาที่  และประเพณีคํ้าตนโพธิ์ ประเพณีปลอยนก ปลอยปลา
              ทํากินใหม ซึ่งสวนมากเปนแถบอําเภอบางพลี จังหวัด  ประเพณีเติมนํ้ามันตะเกียง ประเพณีตักบาตรนํ้าผึ้ง
              สมุทรปราการ ครั้นเมื่อเสร็จสิ้นฤดูทํานาก็จะกลับมา  ประเพณีถวายสลากภัตต
              พักผอนที่บานปากลัด ไมนิยมทําไรหลังจากเก็บเกี่ยว       2) ประเพณีที่เกี่ยวกับความเชื่อ พบวามีอยู

              แลว แตนิยมการสานเสื่อกกทุกครัวเรือนเพื่อเก็บไว  2 ประเพณี ซึ่งประเพณีที่ยังคงตามธรรมเนียม มีเฉพาะ
              ใชเองและ จําหนายบาง สวนในปจจุบันเด็กมอญรุน  ประเพณีรําผีเจาพอเวขะราว เทานั้น  สวนประเพณีรําผี
              ใหมไมวาชายหรือหญิง ตางก็มีโอกาสในการศึกษาเทา  ไดมีการเปลี่ยนแปลง ตามสภาวะทางสังคมแลว
              เทียมกัน ดังนั้น นอยคนนักที่ยังคงยึดอาชีพทํานา แต  3) ประเพณีที่เชื่อมโยงกับชีวิต ไดแก
              กลับมาเขารับราชการพลเรือน รับราชการทหาร ตํารวจ   ประเพณีการเกิด การบวช แตงงาน การทําศพ
              ประกอบอาชีพสวนตัวหรือรัฐวิสาหกิจก็มีเปนจํานวน       4) ประเพณีดานนันนทนาการ ไดแก
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101