Page 92 -
P. 92

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              90                        Thai J. For. 31 (1) : 87-104 (2012)



              ประชากรและวัฒนธรรมที่มีความสัมพันธกับการตั้ง  กระจัดกระจายอยูในประเทศพมาและไทย ชาวมอญ
              ถิ่นฐานและสภาพแวดลอม ซึ่งมีสวนสําคัญอยางยิ่งตอ  เรียกตัวเองวามอญ (Mon) หรือรามัญ (Raman) พมา
              การใชประโยชนจากทรัพยากรความหลากหลายทาง     เรียกวาตะเลง (Talaing) ไทยเรียกมอญหรือตะเลง ใน

              ชีวภาพ                                       อดีตชาวตะวันตกยังมีชื่อที่เรียกชาวมอญวาเพกวน
                     2.ทําการเก็บขอมูลภาคสนาม โดยการสํารวจ  (Peguan) ซึ่งปจจุบันเลิกไปแลว (สุจริตลักษณ และ
              ชนิดพันธุไมและสอบถามถึงวัตถุประสงคของการใช  คณะ, 2542) สําหรับคําวามอญนั้นเปนคําเดียวกับรามัญ
              ประโยชนตามชนิดพันธุไมที่ปลูกในบริเวณบานเรือน   โดยเพี้ยนจากการออกเสียงเนนที่พยางคทาย และ
              ในบริเวณที่อยูอาศัยของชุมชนมอญปากลัด ซึ่งสวน  คําวารามัญ ไมปรากฏความหมายที่แนชัด ซึ่งมีชาว

              ใหญอาศัยอยูในพื้นที่หมู 7 8 และ 9 ของตําบลทรงคน  มอญอธิบายความหมายวา เปนที่หนึ่ง ในแงที่วาพวก
              อง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ จากนั้น  เขาเปนที่หนึ่งในมนุษยชาติ (the first of mankind) สวน
              จึงนํารายชื่อพันธุไมที่ไดไปตรวจสอบกับ ชื่อพรรณไม  คําวาตะเลงนั้น นักภาษาศาสตรมีความเห็นแตกเปน 2
              แหงประเทศไทย ของเต็ม (2544)                 ทฤษฎี คือ Talaing กรอนมาจากคําวา Ita-lerm ซึ่งแปล
                     3. นํารายชื่อชนิดพันธุไมที่ปลูกตามบาน  วาพอ – ทําลาย หรือหมายความวา ลูกผสม ที่เรียกพวก
              เรือนของชาวมอญปากลัด ซึ่งมีการใชประโยชนใน  ที่เกิดจากชาวมอญกับชาวเตลุคุ (Telugu) อีกทฤษฎีหนึ่ง

              ดานตางๆ เชน เพื่อบริโภคเปนอาหาร สมุนไพร เพื่อ  กลาววา Talaing  มาจาก Telingana หรือ Talingana ซึ่ง
              ความสวยงามรมรื่น เพื่อความเชื่อหรือนําไปประกอบ  ใชเรียกพวกที่อพยพมาจากแควนเตลิงคณะที่อยูทาง
              พิธีกรรมทางศาสนา เปนตน นําไปจัดกลุมใหม เพื่อ  ชายฝงตะวันออกของอินเดีย (สุภรณ, 2541)
              จําแนกตามระบบความสัมพันธของคนในชุมชน               กลุมชาติพันธุมอญเปนชนชาติที่เกาแกมี
              ไดเปน 3 กลุม คือ เพื่อตอบสนองตนเอง เพื่อสภาพ  อารยธรรมรุงเรืองมากชนชาติหนึ่ง ตามพงศาวดารพมา

              แวดลอม และตามความเชื่อหรือสิ่งเหนือธรรมชาติ   กลาววา มอญเปนชาติแรกที่ตั้งถิ่นฐานอยูในพมาเปน
              จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหและตีความ เพื่อให  เวลานานหลายศตวรรษกอนพุทธกาล โดยตั้งถิ่นฐาน
              เกิดความเขาใจเกี่ยวกับความสัมพันธของชุมชนมอญ  อยูบริเวณตอนลางของแมนํ้าอิระวดี และเปนอาณาจักร
              กับถิ่นที่อยูอาศัยแบบพื้นที่ชุมนํ้า และความสัมพันธใน  แรกที่รับเอาอารยธรรมอินเดียทางดานอักษรศาสตร
              การใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพของ    และพุทธศาสนาเขามากอนที่จะถายทอดใหแกชนชาติ
              ชนิดพันธุไมที่ปลูกตามบานเรือนของชาวมอญปากลัด   อื่นในดินแดนแถบนี้ ไมวาจะเปนพมา ไทย หรือลาว

              กับความสัมพันธทางสังคมที่เกิดขึ้นในชุมชน    ความเปนมาของมอญนั้น เชื่อกันวานาจะอพยพมา
                                                           จากทางตอนเหนือของอุษาคเนย ซึ่งเปนการเคลื่อน
                          ผลและวิจารณ                     ยายของกลุมภาษามอญ-เขมร แตมีทฤษฎีเกากลาววา

                                                           มีการอพยพมาจากทางอินเดียใต แถบแควนโอริสสะ
              ความเปนมาของชาวมอญและอาณาจักรมอญ            เมื่อไดตั้งหลักแหลงอยูทางตะวันออกของแมนํ้าอิระ

                     มอญเปนกลุมชาติพันธุหนึ่งในดินแดนอุษา  วดีในพมาตอนลางแลว ชาวมอญไดสรางอาณาจักร
              คเนย ซึ่งนักวิชาการทางภาษาศาสตรและมานุษยวิทยา  ของตนเองขึ้นและสรางเมืองขึ้นบริเวณปากอาวเมาะตะ
              ไดจัดมอญไวในกลุมคนที่มีภาษาพูดอยูในตระกูล  มะ  มีเมืองสําคัญหลายเมือง เชน สะเทิม ทวันเท ทะละ
              มอญ-เขมร (Mon-Khmer) หรือออสโตรเอเชียติก     และหงสาวดี ซึ่งตางเปนอิสระตอกัน โดยมีเมืองสะเทิม

              (Austroasiatic Language Family) อาศัยอยูเปนกลุม
                                                           เปนศูนยกลางของอาณาจักรมอญที่เจริญรุงเรืองกวา
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97