Page 97 -
P. 97

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                       วารสารวนศาสตร 31 (1) : 87-104 (2555)                     95
                                                      ์



              ประเพณีการเลนสะบา (บอน) ประเพณีการเลนสะบาทอย  หลากหลายของชนิดพันธุไมกับความสัมพันธที่เกี่ยว
                     5)ประเพณีการแตงกาย  ผูชายสวมเสื้อผาตาม  เนื่องกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนมอญปากลัด ดังนี้
              สมัยนิยม แตสวนใหญผูสูงอายุนิยมนุงโสรง ยกเวนใน  1) เพื่อการตอบสนองความตองการของ
              งานประเพณี มีการใชผาที่เรียกวา “หยาดอะหลั่ว” แต  ตนเองในฐานะปจเจกบุคคล (individual) เพื่อการ

              สวนใหญมักเปนผาขาวมาพาดหรือคลองไหล สวน  บริโภค ใชเปนสมุนไพร การใชสอยในครัวเรือน
              เอกลักษณของฝายหญิงคือการไวผมยาวและเกลามวย  การนํามาประดับรางกาย และบางสวนมีจําหนาย
              ผม ที่มวยผมจะประดับดวยเครื่องประดับ 2 ชนิด คือ   เปนตน ซึ่งการใชประโยชนในลักษณะนี้ไดรับการ
              ชิ้นหนึ่งมีลักษณะคลายเกือกมา เรียกวา “อะนดชก”   ถายทอดเปนวัฒนธรรมและภูมิปญญาที่เกี่ยวของกับ
              ใชเสียบแนวตั้ง อีกชิ้นหนึ่งลักษณะคลายใบไผเรียก  อาหารการกิน การรักษาโรค อาชีพ และการแสดงออก

              วา“หะเลียงชก”  ใชเสียบแนวนอน เวลาที่ไปงาน  ซึ่งบุคลิกลักษณะเฉพาะตน ตนไมที่ปลูกสวนใหญจึงมี
              บุญหรือไปงานตางๆ สาวมอญจะประดับมวยผมดวย    ความผูกพันใกลชิดกับครัวเรือนของชาวมอญ มีจํานวน
              ดอกไมหรือลูกปดที่มีพูหอยหลากสีสวยงามเรียกวา    66 ชนิด เชน ขา จําป ชมพูมะเหมี่ยว ตะลิงปลิง มะกรูด
              “แหมะแกวปาวชก”
                                                           มะขาม มะตาด มะพราว มะมวง สะเดา สมโอ และมะ

              การปลูกตนไมตามบานเรือนของชาวมอญปากลัด     ผูมะเมีย เปนตน
                     จากการสังเกตและสัมภาษณชุมชนมอญ              2) เพื่อปรับสภาพแวดลอม (environmen-
              ที่อาศัยอยูในหมู 7 หมู 8 และหมู 9 ตําบลทรงคนอง   tal) เปนการปลูกตนไมโดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอมและ
              อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ในครั้งนี้   บุคคลภายนอก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อความสวยงาม
              พบจํานวนพันธุไมที่ปลูกตามบานทั้งสิ้น 166 ชนิด   แกผูพบเห็น เพื่อปรับสภาพแวดลอมใหมีความรมรื่น

              (70 วงศ) (Table 1) โดยจําแนกตามวิสัยพืช ไดเปน ไม  ใหกลิ่นหอม ตนไมที่ปลูกบางสวนเปนไปตามสมัย
              ตน 28 ชนิด ไมตนขนาดเล็ก 24 ชนิด ไมพุม 28 ชนิด   นิยมและสภาพพื้นที่ พบจํานวน 122 ชนิด เชน ฝายคํา
              ไมพุมกึ่งไมตนขนาดเล็ก 2 ชนิด ไมพุมกึ่งไมตน 12   ราชพฤกษ ชบา ชวนชม ลําพู ขอย ตะขบฝรั่ง มะลิลา
              ชนิด ไมพุมขนาดเล็ก 6 ชนิด ปาลม 7 ชนิด ไผ 3 ชนิด   โมก เตยหอม ปบ ประดูบาน พุทธรักษา วาสนา เปนตน
              ไมเถา 19 ชนิด ไมลมลุก 24 ชนิด ไมเถาลมลุก 1 ชนิด      3)   ปลูกตามความเชื่อหรือสิ่งเหนือธรรมชาติ

              กลวยไมที่เกาะอาศัยอยูบนตนไม 3 ชนิด เฟน 6 ชนิด   (supernatural) ชาวมอญมีวัฒนธรรมที่ผูกพันใกลชิด
              และไมลมลุกที่อาศัยอยูในนํ้า 3 ชนิด        กับพุทธศาสนาและการเคารพผีบรรพบุรุษ ซึ่งไดรับ
                     จากการสัมภาษณ การใชประโยชนจากตนไม  การถายทอดมาจากบรรพชน ทําใหเกิดลักษณะนิสัย
              ที่ปลูกตามบานเรือนของชุมชนมอญดังกลาว พบวา  ออนนอมถอมตนตอธรรมชาติและสิ่งเหนือธรรมชาติ
              มีวัตถุประสงคในการใชประโยชนในชีวิตประจําวัน  ความเชื่อดังกลาวมีการนําตนไมมาใชเปนสัญลักษณ
              หลายรูปแบบ แตเมื่อนํามาพิจารณารวมกับความ   ซึ่งเปนภูมิปญญาในการปรับตัวเขากับธรรมชาติและ

              สัมพันธทางสังคมที่เกิดขึ้นจากคนในชุมชนที่เกี่ยวของ  เชื่อมโยงจิตใจผูคนในชุมชนใหอยูรวมกันอยางสงบสุข
              กับความสัมพันธระหวางคนกับคน คนกับธรรมชาติ   พันธุไมที่พบมีจํานวน 12 ชนิด ไดแก กุหลาบแดง กวน
              และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ซึ่งเปนสวนสําคัญตอ  อิม เข็มพวงขาว เข็มแดง จําป โมกใหญ พิกุล พูระหง
              การอยูรวมกันภายในพื้นที่วัฒนธรรมเดียวกัน (ศรีศักร,   เฟองฟา วานสี่ทิศ มะลิวัลย และรัก

              2522) จึงสามารถจําแนกการใชประโยชนจากความ          เมื่อพิจารณาการใชประโยชนความหลาก
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102