Page 93 -
P. 93
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 31 (1) : 87-104 (2555) 91
์
อาณาจักรอื่นในบริเวณใกลเคียง ทั้งทางดานวัฒนธรรม ลุมดินดอนสามเหลี่ยมปากแมนํ้าอันอุดมสมบูรณสาม
ศาสนา และการคา (สุภรณ, 2527) แตอาณาจักรในอดีต แหงใหญๆ คือ ที่ราบลุมดินดอนสามเหลี่ยมปากแมนํ้า
นั้นมิไดแยกออกจากกันโดยชัดเจน มีพื้นที่ซอนทับและ อิระวดี ที่ราบลุมปากแมนํ้าสะโตงและที่ราบลุมปาก
ลื่นไหลไปตามศูนยกลางของอํานาจ บางครั้งขยายใหญ แมนํ้าสาละวิน ทําใหบริเวณนี้มีประชากรหนาแนน
กินพื้นที่กวางครอบคลุมเมืองเล็กเมืองนอย บางครั้ง ที่สุดในพมา โดยเฉพาะบริเวณปากแมนํ้าอิระวดีที่
กลายเปนอาณาจักรขนาดเล็ก เมื่อเมืองเล็กเมืองนอย ไดแยกตัวออกเปนรูปพัด กอนที่จะไหลลงสูอาวเมาะ
ที่อยูภายใตอํานาจตั้งตนเปนอิสระ หรือเปลี่ยนไปเขา ตะมะ กอใหเกิดพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแมนํ้า
รวมกับอาณาจักรอื่น ซึ่งขึ้นอยูกับความสามารถของ อันอุดมสมบูรณสูงสุดที่มีความหลากหลายทางดาน
ผูนําอาณาจักร สภาวะเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ชีวภาพและมีความเหมาะสมตอการเกษตรกรรมโดย
ในขณะนั้น เฉพาะการทํานาขาว ทั้งยังเปนแหลงปลานํ้าจืดที่สําคัญ
อาณาจักรมอญรุงเรืองมาเปนเวลานับพัน นานาชนิด ทําใหพมาเปรียบเทียบวาเปนเสมือนเสน
กวาปดวยความรมเย็น ชนชาติมอญมีความสามารถ โลหิตใหญที่หลอเลี้ยงประเทศ
ในวิทยาการดานตางๆ มากมาย ซึ่งพบหลักฐานได ที่ราบลุมดินดอนสามเหลี่ยมปากแมนํ้าอิระวดี
จากศิลปกรรม สถาปตยกรรม และบันทึกจากคัมภีรใบ ในอดีต เปนเขตอิทธิพลทางวัฒนธรรมของชนชาติ
ลาน ภาษามอญโบราณที่จารึกเรื่องราวของวิทยาการ มอญ กอนที่พมาจะแผอิทธิพลลงมาครอบคลุมบริเวณ
หลากหลายที่บงชี้ถึงภูมิปญญาอันปราดเปรื่องของชาว พื้นที่เหลานี้ไวไดทั้งหมด ดวยความเหมาะสมใน
มอญแตโบราณ รวมทั้งชาวมอญยังมีความรูทางดาน ดานทําเลที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศที่มีความอุดม
การเกษตร และเปนผูริเริ่มระบบชลประทานในลุมนํ้า สมบูรณของดิน พันธุพืชและทรัพยากรธรรมชาติ
อิระวดีทางตอนกลาง นอกจากนี้มอญยังเปนชนชาติหนาดานแรกๆ ที่รับเอา
ชนชาติมอญมิใชชาตินักรบและมิได ความเจริญรุงเรืองทางดานวัฒนธรรมมาพรอมๆ กับ
เตรียมตัวเพื่อการสงคราม ในประวัติศาสตรจึงพบ พระพุทธศาสนาที่เผยแพรเขามาจากอินเดีย ซึ่งเขามา
วาอาณาจักรมอญถูกรุกรานจากพมาอยูเสมอ (พมา มีอิทธิพลและมีบทบาทตอวิถีชีวิตและสังคมชาวมอญ
เปนชาตินักรบเชื้อสายธิเบตที่อพยพมาจากทางเหนือ กอนถายทอดวิทยาการอันรุงโรจนนี้ใหกับพมาและ
และเมื่อไดตั้งอาณาจักรพุกามขึ้นก็เริ่มรุกรานมอญ) ชนชาติอื่นๆ ในเอเซียอาคเนย โดยเฉพาะอิทธิพลทาง
เพราะพื้นที่ของอาณาจักรมอญเปนที่ราบลุมที่อุดม ดานพระพุทธศาสนานั้นไดหยั่งรากลึกลงในสังคมของ
สมบูรณของลุมนํ้าอิระวดีและมีการติดตอคาขายกับ พมาผสมผสานกับความเชื่อปรากฏการณทางธรรมชาติ
ตางประเทศทางทะเล อาณาจักรมอญจึงเปรียบเสมือน และผีสางเทพยดา จนหลอหลอมใหเกิดจารีตและ
อูขาวอูนํ้าที่พมาตองการ นอกจากนั้นมอญยังตั้งอยู ประเพณีเพื่อใหสามารถดํารงวิถีชีวิตไดอยางรมเย็น
ระหวางไทยกับพมา ซึ่งเปนพื้นที่ยุทธศาสตรที่มีความ สงบสุขสอดคลองกับความเปนไปของธรรมชาติและ
สําคัญเมื่อมีการสงครามขยายอํานาจและอาณาจักร ทั้ง สภาวะแวดลอม ดังนั้น เมื่อความอุดมสมบูรณของผืน
เสนทางยกทัพ แหลงเสบียง และกําลังคน แผนดินผนวกกับวิถีชีวิตแบบพอเพียงตามแนวทาง
พระพุทธศาสนาที่สอดประสานไปกับประเพณีและ
สภาพแวดลอมในถิ่นฐานเดิมของชาวมอญ วิถีความเชื่อของสังคมที่สอดคลองกับการอนุรักษ
ชนชาติมอญไดสรางอาณาจักรขึ้นบริเวณ ธรรมชาติ จึงทําใหพมายังคงความอุดมสมบูรณและ
ตอนลางของประเทศพมา ซึ่งประกอบดวยพื้นที่ราบ เต็มไปดวยความหลากหลายทางดานชีวภาพกระทั่ง