Page 91 -
P. 91

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                                       วารสารวนศาสตร 31 (1) : 87-104 (2555)                     89
                                                      ์



              การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และการคา จนสามารถ  people) ซึ่งเปนแนวคิดเกี่ยวกับวิถีชีวิตที่ใกลชิดกับ
              พัฒนาขึ้นเปนบานเมือง รัฐและอาณาจักร ที่มีอิทธิพล  ระบบนิเวศ มีวิธีคิดและดํารงชีวิตในลักษณะพึ่งพา
              เหนือชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานในพื้นที่อื่น ซึ่งขาดปจจัยที่  และผูกพันกับธรรมชาติแวดลอมมาหลายชั่วอายุคน

              เหมาะสมอันเอื้ออํานวยใหเกิดการพัฒนาเปนเมืองที่มี  และเปนสวนหนึ่งของหวงโซสายสัมพันธในระบบ
              อารยธรรมที่ยิ่งใหญ                          นิเวศ โดยสะทอนใหเห็นถึงพื้นฐานของการจัดการ
                     ในบรรดากลุมคนดั้งเดิมที่อาศัยอยูในภูมิภาค  ระบบความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติ และ
              เอเซียอาคเนยนี้ มีกลุมชาติพันธุหนึ่งที่มีพัฒนาการจน  ระหวางมนุษยกับมนุษยดวยกัน และเมื่อนําเชื่อมโยง
              เกิดเปนอาณาจักร และยังมีวัฒนธรรมเปนของตนเอง  กับการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อการ

              มาอยางยาวนานจวบจนถึงปจจุบัน รวมทั้งยังมีอิทธิพล  พัฒนาที่ยั่งยืนแลว จึงมีความจําเปนที่จะตองเริ่มตน
              ตอผูคนที่ตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่ราบลุมแมนํ้าเจาพระยา  จากการทําความเขาใจกับสัมพันธภาพที่เกื้อกูลกัน
              ของประเทศไทยในปจจุบัน ทั้งจากการผสมกลมกลืน  ระหวางความหลากหลายทางชีวภาพและความหลาก
              ทางประชากรและวัฒนธรรม คือ กลุมชาติพันธุมอญที่  หลายทางวัฒนธรรม (ยศ, 2544) ดังนั้นแนวคิดทั้งสอง
              มีตนกําเนิดจากที่ราบลุมแมนํ้าอิระวดีในประเทศพมา   จะนํามาใชในการศึกษาถึงการปรับตัวของชุมชนมอญ
              โดยถือไดวาวัฒนธรรมของชาวมอญที่ไดมีพัฒนาการ  ในลักษณะความสัมพันธของวิถีชีวิตชุมชนในพื้นที่ชุม

              ขึ้นไดนั้น เปนสวนหนึ่งของการปรับตัวใหเขากับถิ่นที่  นํ้า ที่มีประวัติศาสตรอยางยาวนาน ซึ่งบางสวนไดเขา
              อยูอาศัยแบบพื้นที่ชุมนํ้าอันอุดมสมบูรณ ซึ่งสวนหนึ่ง  มาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย จนปจจุบันแวดลอมไป
              เปนผลมาจากการรับเอาอารยธรรมจากอินเดียเขามา  ดวยการพัฒนาและการเติบโตของเมือง และการศึกษา
              ปรับใชใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพแวดลอมของ   ถึงความสัมพันธจากการใชประโยชนจากความหลาก
              ตนเปนเวลานานนับพันป ทั้งในดานการเกษตรกรรม   หลายทางชีวภาพของชุมชนมอญในประเทศไทย โดย

              การชลประทาน ศาสนา ความเชื่อ อาหาร ประเพณี การ  การใชประโยชนจากพันธุไมที่ปลูกตามบานเรือนของ
              ปกครอง ภาษา ตัวอักษร ศิลปะวิทยาการ ดนตรีและการ  ชาวมอญปากลัด ตําบลทรงคนอง อําเภอพระประแดง
              แสดง ซึ่งมีอิทธิพลตอวิถีชีวิตของคนไทยในเวลาตอมา   จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งจะทําใหเกิดความเขาใจใน
              (สุภรณ, 2541 และนิธิ, 2547) โดยเฉพาะอยางยิ่งในการ  ความเกี่ยวของเชื่อมโยงกันระหวางความหลากหลาย
              จัดความสัมพันธของชีวิตใหเขากับถิ่นที่อยูอาศัยแบบ  ทางชีวภาพกับความเปนวัฒนธรรมเฉพาะถิ่นมาก
              พื้นที่ชุมนํ้า                              ขึ้น อันจะนําไปสูการอยูรวมกันระหวางมนุษยกับ

                     การศึกษาในครั้งนี้ ไดใชแนวคิดในเรื่องของ  ธรรมชาติอยางเหมาะสมและยั่งยืนตอไป
              การปรับตัว (adaption) ซึ่งเปนความสัมพันธระหวาง
              สิ่งที่ศึกษากับสภาพแวดลอมรอบตัว และที่อยูอาศัย      อุปกรณและวิธีการ
              (habitat) การศึกษาในลักษณะนี้จึงเปนการพิจารณาใน

              เชิงประวัติศาสตร (historical approach) เกี่ยวกับการ     1. ทําการศึกษา คนควาประวัติศาสตรและ
              เปลี่ยนแปลงเพื่อจัดระบบความสัมพันธใหสอดคลอง  ความเปนมาของกลุมชาติพันธุมอญจากเอกสารหลัก
              กัน หรือการปรับเปลี่ยนตัวมนุษยเพื่อใหมีความ  ฐานชั้นรองหรือทุติยภูมิ รวมถึงการตั้งถิ่นฐานของ
              สัมพันธที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอม หรือการปรับ  ชุมชนมอญในพื้นที่ศึกษาตําบลทรงคนอง อําเภอ
              สภาพแวดลอมเพื่อใหสอดคลองกับสภาพของมนุษย   พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เนนในสวน
              (อมรา, 2549) และแนวคิดทางมนุษยนิเวศ (ecosystem   ที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงในดาน
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96