Page 90 -
P. 90

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              88                        Thai J. For. 31 (1) : 87-104 (2012)



                                                   บทคัดยอ



                     มอญเปนกลุมคนดั้งเดิมในภูมิภาคเอเซียอาคเนย มีการตั้งถิ่นฐานในสภาพแวดลอมแบบพื้นที่ชุมนํ้า ลักษณะ
              เปนที่ราบลุม นํ้าทวมขังในฤดูนํ้าหลากและบริเวณปากแมนํ้าที่มีระบบนิเวศแบบนํ้ากรอย  ชาวมอญจึงมีความสามารถ
              ในดานเกษตรกรรมและการชลประทาน จนสงผลใหเกิดเปนถิ่นฐานที่มีความมั่นคงและสามารถพัฒนาขึ้นเปน
              อาณาจักรได การปรับตัวของชาวมอญที่ผานมานับพันป เปนการจัดความสัมพันธของชีวิตใหเขากับถิ่นที่อยูอาศัย

              แบบพื้นที่ชุมนํ้าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง โดยเฉพาะที่ยังปรากฏอยูในบริเวณลุมแมนํ้าอิระวดีในปจจุบัน
              สําหรับชุมชนมอญในประเทศไทย สวนใหญมีการตั้งถิ่นฐานอยูตามริมนํ้า โดยพบหลักฐานที่เกาแกที่สุดอยูในบริเวณ
              ลุมนํ้าเจาพระยา มอญปากลัด อาศัยอยูบริเวณปากนํ้าเจาพระยา อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ จากการ
              สํารวจความหลากหลายของพันธุไมตามบานเรือน พบวามีจํานวน 166 ชนิด (species) ใน 70 วงศ (family) จําแนก
              ตามลักษณะการใชประโยชน ไดแก การตอบสนองในชีวิตประจําวันของแตละบุคคล ความสัมพันธตอสภาพแวดลอม
              และผูคนในชุมชน และความสัมพันธดานความเชื่อและสิ่งที่อยูเหนือธรรมชาติ โดยนํามาใชเปนสัญลักษณในการสื่อ

              ความหมายเพื่อผูกสัมพันธผูคนในพื้นที่เขาไวดวยกัน ควบคูกับสถานการณ ณ ปจจุบัน ที่โลกกําลังประสบกับปญหา
              ทางธรรมชาติและสังคม ที่เปลี่ยนแปลงอยางรุนแรงและรวดเร็วมากขึ้น การมองยอนกลับไปเรียนรูอดีต เรียนรูความ
              สัมพันธของชีวิตกับถิ่นที่อยูอาศัย อาจจะเปนแนวทางที่เปนคําตอบในสิ่งที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกลนี้


              คําสําคัญ:  การปรับตัว  มอญ   พื้นที่ชุมนํ้า   พันธุไม   พระประแดง


                               คํานํา                      ถึงความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับบทบาทหนาที่

                                                           ในสังคมชีวิตนั้น (จิรากรณ, 2537) ที่เกิดขึ้นในแตละ
                     ประเทศไทยเปนพื้นที่ที่มีความหลากหลาย  ถิ่นที่อยูอาศัย ในลักษณะของการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต

              ทางชีวภาพที่สําคัญแหงหนึ่งของโลก เนื่องจากมี  ใหเขากับสภาพแวดลอมและการจัดสรรทรัพยากร  ซึ่ง
              สภาพพื้นที่ที่แตกตางกันตั้งแตระดับที่สูงบนภูเขา   จะทําใหเกิดความเขาใจและการเรียนรูถึงระบบความ
              ที่ราบสูง ที่ราบลุม ปากแมนํ้า ชายฝง จนถึงทะเล  รวม  สัมพันธที่ยังปรากฏรองรอยอยู และเปนสวนสําคัญ
              ทั้งประเทศไทยยังเปนพื้นที่ที่ตั้งอยูในแผนดินใหญมา  อยางยิ่งตอการรักษาสมดุลของธรรมชาติและทรัพยากร
              อยางยาวนาน จึงทําใหสิ่งมีชีวิตตางๆ สามารถอพยพ  อยางยั่งยืน

              เคลื่อนยายไดอยางเสรี ไมมีพรมแดนทางธรรมชาติกั้น     ปจจัยสําคัญที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงของ
              ขวางการแลกเปลี่ยนกระบวนการทางชีวภาพ  และสิ่ง  สมดุลธรรมชาติมากที่สุด คือ มนุษย โดยเฉพาะความ
              มีชีวิตที่อาศัยอยูในแตละพื้นที่ตางก็มีบทบาทความ  สัมพันธระหวางมนุษยที่มีการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ราบ
              สัมพันธตอสภาพแวดลอมแตกตางกันไป นอกจาก    ลุมนํ้า ซึ่งมักพบวาอารยธรรม 5 แหงแรกของโลกลวน
              นั้นแลวระบบความสัมพันธที่เกิดขึ้นในพื้นที่หนึ่งยัง  มีพัฒนาการขึ้นในพื้นที่ราบลุมแมนํ้าตางๆ เชน บริเวณ
              อาจสงผลตอเนื่องเชื่อมโยงไปยังพื้นที่แหงอื่นที่อยู  ที่ราบลุมแมนํ้าไทกรีส-ยูเฟรตีส ลุมแมนํ้าไนล ลุมแมนํ้า

              หางไกลออกไป ดังนั้นการศึกษาทางดานความหลาก  สินธุ ลุมแมนํ้าฮวงโห และในอเมริกากลาง (บงกชรัตน,
              หลายทางชีวภาพที่สําคัญประการหนึ่ง คือ การศึกษา  2541) ซึ่งเปนพื้นที่ที่เหมาะสมตอการตั้งถิ่นฐานถาวร
                                                           การเพาะปลูก การขยายตัวของประชากร การคมนาคม
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95