Page 79 -
P. 79

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                                         วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์   ปีที่ 41 ฉบับที่ 2   73



             และเชื่อมโยงการศึกษาในระบบกับการศึกษานอกห้องเรียนให้มีความสมดุล  สนับสนุนกระบวนการเรียน
             รู้กับผู้จัดกระบวนการ  เช่น  ครู  อาจารย์  ในสถานศึกษาต่างๆให้มีการพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการ
             เรียนรู้เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ที่อาจเกิดวิกฤติทั้งโครงสร้างสังคม
             สิ่งแวดล้อม  เศรษฐกิจ  ซึ่งต้องการบุคลากรที่มีความรู้หลากหลายและสามารถเชื่อมโยงความรู้สู่การ
             ปฏิบัติ  สามารถคิดค้นนวัตกรรมใหม่ในการพัฒนาสังคมในอนาคต  และเป็นบุคลากรที่สามารถดำรงชีวิต

             ได้อย่างมีความสุข

                                                บรรณานุกรม



             กาญจนา แก้วเทพและสมสุข หินวิมาน. (2553). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับการ
                   สื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.
             เกียรติศักดิ์ แสงอรุณ. (2551). แนวทางการพัฒนาจิตสำนึกสาธารณะสำหรับเยาวชนไทย: กรณีศึกษา
                   กลุ่มและเครือข่ายเยาวชนที่ทำงานด้านจิตสำนึกสาธารณะ.  ครุศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิขา
                   พัฒนาศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

             เคน เคย์. (2554). ทักษะในศตวรรษที่ 21 : สำคัญอย่างไร คืออะไร และทำสำเร็จได้อย่างใน James
                   Bellanca  และ  RonBrandt  (บรรณาธิการ)  ทักษะแห่งอนาคตใหม่  การศึกษาเพื่อศตวรรษที่
                   21. กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลด์. หน้า 34-37.

             จุฑารัตน์  คชรัตน์.  (2554).  การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียน  ที่ใช้การคิด
                   ไตร่ตรองและแนวคิดนีโอฮิวแมนนิส  เพื่อเสริมสร้างความพึงพอใจในชีวิตสำหรับเยาวชนใน
                   ศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน.  ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาการศึกษานอกระบบโรงเรียน
                   จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
             จตุรงค์  บุณยรัตนสุนทร.  (2542).  พลวัตองค์กรพัฒนาเอกชนไทย  ในณรงค์  เพ็ชรประเสริฐ

                   (บรรณาธิการ) เศรษฐศาสตร์การเมือง (เพื่อชุมชน) ฉบับที่ 11 เอ็นจีโอ2000. กรุงเทพฯ : ศูนย์
                   ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
             ภัควดี วีระภาสพงษ์. (2554). สามัญชนเปลี่ยนโลก : แนวคิดและปฏิบัติการทางสังคมสู่แรงบันดาลใจ

                   ของคนธรรมดา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ของเรา.
             ยุค ศรีอาริยะ. (2542). อภิวัฒน์การศึกษา สู่ความเป็นไทและบูรณาการ. ใน ปฏิวัติการศึกษาไทย: แก้
                   ปัญหาฆาตกรรมทางจิตวิญญาณ. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง. หน้า 86.
             ละออ  พลายน้ำงาม.  (2518).  นักศึกษากับการพัฒนาชนบทในชุมนุมอาสาสมัครหญิงระหว่าง
                   มหาวิทยาลัย ทำลายหรือสร้างสรรค์ , ฝ่ายวิชาการ(บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : หน้า 6-18.

             แวนิชชิ่ง.  (2552).  มหกรรมพลังเยาวชนครั้งที่  1  “ร่วมสร้างประเทศไทยด้วยการให้”  ทำเนียบองค์กร
                   พลังเยาวชน พลังสังคม เรื่องราวต้นแบบพลังเยาวชน บทสัมภาษณ์พี่เลี้ยงองค์กรต้นแบบพลัง
                   เยาวชน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสยามกัมมา จล.

             ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย. [ม.ป.ป.]. ขบวนการนิสิตนักศึกษาก่อน 14 ตุลา. (ออนไลน์).
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84