Page 166 -
P. 166
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารมนุษยศาสตร์ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560) 147
6
ตอบสนอง หรือ “responding time” ซึ่งมีหน่วยเป็น ms ซึ่งหากอัตราความถูกต้องยิ่งมาก
ยิ่งแสดงถึงการแยกแยะเสียงสระ ‘ㅐ[Ɛ]’ และสระ ‘ㅔ[e]’ ที่ดีและหากเวลาในการตอบสนอง
น้อยมากเท่าไรยิ่งแสดงให้เห็นถึงการแยกแยะเสียงสระ ‘ㅐ[Ɛ]’ และสระ ‘ㅔ[e]’ ที่ดี
มากเท่านั้น
7
ภาพที่ 1. ภาพแสดงขั้นตอนการทดสอบของโปรแกรม OpenSesame
6 ms มีค่าเท่ากับ 1 ส่วนของ 1000 วินาที
7 งานวิจัยของ เชฺวเจซู (최재수, 2014) และ อีควังโอ (이광오, 1990) ท าการ
ทดสอบความสัมพันธ์ของระบบเสียงกับความซับซ้อนของรูปอักษรในภาษาเกาหลี
โดยท าการทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างเจ้าของภาษาชาวเกาหลีและผู้ศึกษาภาษาเกาหลี
ชาวต่างชาติ งานวิจัยทั้งสองเรื่องก าหนดกรอบการแยกแยะเสียงและเวลาที่ใช้ในการ
ตอบสนองว่า ควรอยู่ในช่วงเวลาไม่เกิน 3000 ms หรือ 3 วินาที หากเกินเวลาที่ก าหนด
จะไม่น าข้อมูลมาใช้ในการพิจารณา แต่งานวิจัยนี้จะใช้วิธีการเก็บข้อมูลเช่นเดียวกับ
งานวิจัยของ บุญฤทธิ์ โกเฮง (분릿코헹, 2015) คือ เก็บข้อมูลตามจริงแม้ว่าเวลาใน
การตอบสนองจะเกิน 3000 ms หรือ 3 วินาที และน าข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์
เพื่อสรุปผลการทดสอบ