Page 170 -
P. 170

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                       วารสารมนุษยศาสตร์ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560)   151


                        ชื่อ         เพศ        อายุ             อาชีพ
                      KNS25          หญิง        30        อาจารย์สอนภาษาเกาหลี
                      KNS26          หญิง        25         นักศึกษามหาวิทยาลัย
                      KNS27          ชาย         31        อาจารย์สอนภาษาเกาหลี
                      KNS28          ชาย         26           พนักงานบริษัท
                      KNS29          ชาย         25         นักศึกษามหาวิทยาลัย
                      KNS30          หญิง        26             พยาบาล
                      KNS31          หญิง        22         นักศึกษามหาวิทยาลัย
                      KNS32          หญิง        22         นักศึกษามหาวิทยาลัย
                      KNS33          หญิง        19             นักเรียน
                      KNS34          ชาย         38           พนักงานบริษัท
                      KNS35          ชาย         18             นักเรียน
                      KNS36          หญิง        54             ข้าราชการ


                 3.  ผลการทดสอบ


                        การเรียนรู้ภาษามีปัจจัยหลายด้านที่ส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรค เอลลิส (Ellis,
                 1994) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาและเสนอว่า หนึ่งในปัจจัยส าคัญที่ส่งผล
                 ต่อการเรียนรู้ภาษาก็คือ ปัจจัยทางสังคม ซึ่งประกอบไปด้วย อายุ เพศ วรรณะทาง
                 สังคม ชาติพันธุ์ เป็นต้น เพื่อเป็นการวิเคราะห์ว่าปัจจัยทางสังคมประการใดที่ส่งผล

                 ต่อการแยกแยะเสียงสระ ‘ㅐ[Ɛ]’ และสระ ‘ㅔ[e]’ ของเจ้าของภาษาชาวเกาหลี ผู้วิจัย
                 จึงจ าแนกการวิเคราะห์ออกเป็น 4 ประเด็นคือ การจ าแนกการแยกแยะเสียงสระ
                 ‘ㅐ[Ɛ]’ และสระ ‘ㅔ[e]’ ตามประเภทของเสียงสระ การจ าแนกตามเพศ การจ าแนกตาม
                 อายุ ส าหรับปัจจัยเรื่องอาชีพผู้วิจัยจ าแนกออกเป็นสองกลุ่มคือ ผู้ประกอบอาชีพเป็น

                 อาจารย์สอนภาษาเกาหลี (Korean language teachers) และกลุ่มที่ประกอบอาชีพอื่นๆ
                 (Non-Korean language teachers) เนื่องจากกลุ่มผู้ประกอบอาชีพอาจารย์สอนภาษา
                 เกาหลีถือเป็นกลุ่มคนที่มีทักษะความรู้และประสบการณ์ทางด้านภาษามากกว่ากลุ่ม
                 คนที่ประกอบอาชีพอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษาและการเรียนการสอนหรืออาจเรียกได้
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175