Page 26 -
P. 26

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                    ปที่ 19 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555)   15

                ตารางที่ 4 ความถี่ในการปรากฏของนามวลีแปลงในภาษากฎหมาย ภาษาการเมือง
                        ภาษาสื่อ และภาษาวิชาการของไทย

                    ความถี่  นามวลีแปลงรูปแบบ  นามวลีแปลงรูปแบบ    รวม
                                 การ             ความ

                ทําเนียบ    จํานวน  รอยละ   จํานวน   รอยละ   จํานวน  รอยละ
                ภาษา         ครั้ง            ครั้ง            ครั้ง
                  ภาษา       426     4.26     137     1.37     563      5.63
                 กฎหมาย
                  ภาษา       318     3.18     136     1.36     454      4.54
                 การเมือง
                 ภาษาสื่อ    190      1.9     122     1.22     312      3.12
                  ภาษา       650      6.5     164     1.64     814      8.14

                 วิชาการ

                       ผลการเปรียบเทียบความถี่ในการปรากฏของนามวลีแปลงในภาษา
                กฎหมาย ภาษาการเมือง ภาษาสื่อ และภาษาวิชาการของไทยพบวา นามวลีแปลง
                รูปแบบ การ ปรากฏมากกวานามวลีแปลงรูปแบบ ความ ในทุกทําเนียบภาษา
                นอกจากนี้ยังพบวา ทําเนียบภาษาวิชาการของไทยมีลักษณะเวนระยะหางจากผูอาน
                มากที่สุด เนื่องจากมีนามวลีแปลงปรากฏมากที่สุด รองลงมาคือทําเนียบภาษา

                กฎหมาย ทําเนียบภาษาการเมือง และทําเนียบภาษาสื่อตามลําดับ การพบวานามวลี
                แปลงปรากฏในทําเนียบภาษาวิชาการมากที่สุด สอดคลองกับสิ่งที่ไบเบอรและคอนราด
                (Biber and Conrad, 2009: 116) กลาวไววา นามวลีแปลงเปนลักษณะทางภาษาที่
                พบมากที่สุดในบทความวิชาการ (ซึ่งเปนสวนหนึ่งของทําเนียบภาษาวิชาการ) เมื่อเทียบ
                กับภาษาหนังสือพิมพ (ซึ่งเปนสวนหนึ่งของภาษาสื่อ) และภาษาสนทนา
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31