Page 23 -
P. 23

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


          12       วารสารมนุษยศาสตร

                 การใชคําสรรพนามบุรุษที่ 1 และ 2 ในภาษาการเมืองนั้น อาจเปนเพราะ
          พรรคการเมืองหรือนักการเมืองผูออกแถลงการณ ตองการแสดงความใกลชิดและ
          ความเปนพวกพองเดียวกับประชาชนซึ่งเปนผูฟง สวนการที่ผูเขียนใชคําสรรพนาม
          ในภาษาสื่อโดยเฉพาะในภาษาโฆษณาเพื่อแสดงความสนิทสนมกับผูอาน นาจะ

          เกี่ยวของกับวัตถุประสงคของภาษาโฆษณาที่ตองการโนมนาวชักจูงผูอานใหคลอยตาม
         เมื่อผูอานรูสึกวาสนิทสนมกับผูเขียนหรือดารา นักรอง นักแสดงที่เปนผูนําเสนอ
          สินคาในโฆษณา ก็จะทําใหเกิดความรูสึกคลอยตามวาสินคาหรือผลิตภัณฑนั้นๆ ดี
          และนาซื้อหามาใชตามที่เขาแนะนํา

                 2. นามวลีแปลง
                 ตัวบงชี้ประเภทที่ 2 ที่ทําใหภาษากฎหมาย ภาษาการเมือง ภาษาสื่อ และ
          ภาษาวิชาการของไทยมีลักษณะเวนระยะหางจากผูฟงหรือผูอาน คือนามวลีแปลง
          (nominalized noun phrases)  ซึ่งหมายถึงนามวลีที่สรางขึ้นมาจากกระบวนการ
          แปลงเปนนามวลี (nominalization) กลาวคือ เปนนามวลีที่สรางขึ้นมาจากกริยาวลี
          โดยเติม การ หรือ ความ เขาไปขางหนา กริยาวลีที่ถูกแปลงใหเปนนามวลีอาจ
          ประกอบดวยคํากริยาเพียงคําเดียว เชนในตัวอยาง การวิจัย, การลงทุน, การติดตั้ง,

          การผลิต, การเสียสละ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, ความชวยเหลือ, ความกระชับ,
          ความเงียบ, ความอรอย, ความเสี่ยง, ความอบอุน, ความงาม หรืออาจประกอบดวย
          คํากริยาและสวนขยาย เชนในตัวอยาง การปรับสมดุลของรางกาย, การชําระหนี้,
          การนับอายุของบุคคล, การผลัดเซลลผิวเกา, การพัฒนาเศรษฐกิจ, การปองกันและ
          แกไขปญหาน้ําทวม, การเติมกาซ NGV, การประกันรายได, การดําเนินธุรกิจจิวเวลรี่,
          การทําเลเซอร, ความเปนสิริมงคล, ความอยากอาหาร, ความรูสึกกระชับผิว, ความ
          เปลงประกายของสีผม, ความรูสึกสบาย, ความรอนสูง, ความรูสึกที่สดชื่น


                 การใชนามวลีแปลงทําใหผูพูด ผูเขียน ผูฟง หรือผูอาน ไมตองปรากฏใน
          ประโยคก็ได หากเปรียบเทียบกับการใชคําสรรพนามแลว การใชนามวลีแปลงทําให

          ทําเนียบภาษานั้นๆ มีลักษณะเวนระยะหางจากผูฟงหรือผูอานมากกวา เนื่องจาก
          จุดเนนของสารสนเทศไมไดอยูที่ตัวผูสงสาร (ผูพูดหรือผูเขียน) และตัวผูรับสาร
          (ผูฟงหรือผูอาน) อีกตอไป แตเนนที่การกระทําหรือสภาพที่แสดงดวยกริยาใน
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28