Page 22 -
P. 22
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปที่ 19 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555) 11
ทาน คือปรากฏเพียง 7 ครั้ง หรือรอยละ 0.07 เทานั้น หากเปรียบเทียบการปรากฏของ
คําสรรพนามในภาพรวมจะเห็นไดวา ทําเนียบภาษาสื่อมีแนวโนมที่จะใชคําสรรพนาม
บุรุษที่ 2 เพื่อแสดงความสนิทสนมกับอาน มากกวาที่จะใชคําสรรพนามบุรุษที่ 1 ซึ่ง
ลักษณะดังกลาวตรงขามกับทําเนียบภาษาการเมือง
จากเปรียบเทียบความถี่ในการปรากฏของคําสรรพนามในทุกทําเนียบใน
การศึกษาครั้งนี้ พบวามีความแตกตางดังแสดงไวในตารางตอไปนี้
ตารางที่ 3 ความถี่ในการปรากฏของคําสรรพนามในภาษากฎหมาย ภาษาการเมือง
ภาษาสื่อ และภาษาวิชาการของไทย
ความถี่ จํานวนครั้ง รอยละ
ทําเนียบภาษา
ภาษากฎหมาย 0 0
ภาษาการเมือง 128 1.28
ภาษาสื่อ 87 0.87
ภาษาวิชาการ 0 0
ผลการเปรียบเทียบความถี่ในการปรากฏของคําสรรพนามในทําเนียบ
ภาษากฎหมาย ทําเนียบภาษาการเมือง ทําเนียบภาษาสื่อ และทําเนียบภาษา
วิชาการของไทยพบวา ในขนาดความของขอมูลจํานวน 10,000 คําเทาๆ กัน มีการ
ใชคําสรรพนามเฉพาะในทําเนียบภาษาการเมือง ทําเนียบภาษาสื่อเทานั้น โดย
ปรากฏในทําเนียบภาษาการเมือง 128 ครั้ง หรือคิดเปนรอยละ 1.28 มากกวาใน
ทําเนียบภาษาสื่อซึ่งปรากฏ 87 ครั้ง ซึ่งคิดเปนรอยละ 0.87 จึงอาจกลาวไดวา
ทําเนียบภาษาการเมืองมีลักษณะสนิทสนมกับผูฟงหรือผูอานมากกวาทําเนียบ
ภาษาสื่อ สวนการไมปรากฏของคําสรรพนามในทําเนียบภาษากฎหมายและใน
ทําเนียบภาษาวิชาการ แสดงใหเห็นวาทั้ง 2 ทําเนียบภาษาดังกลาว มีลักษณะเวน
ระยะหางจากผูฟงหรือผูอานมากกวาทําเนียบภาษาการเมืองและทําเนียบภาษาสื่อ