Page 31 -
P. 31
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
20 วารสารมนุษยศาสตร
เชนเดียวกัน ผลรวมของความถี่ดังกลาวแสดงใหเห็นวาทําเนียบภาษาวิชาการมี
ลักษณะเวนระยะหางจากผูฟงและผูอานมากที่สุด (รอยละ 8.18) รองลงมาคือ
ทําเนียบภาษากฎหมาย (รอยละ 8.18) ทําเนียบภาษาการเมือง (รอยละ 4.14) และ
ทําเนียบภาษาสื่อ (รอยละ 3.14) ตามลําดับ การที่ภาษาวิชาการมีลักษณะเวนระยะ
หางจากผูอานมากที่สุดดวยการใชนามวลีแปลงและประโยคกรรมวาจก ซึ่งเปนหนวย
สรางที่ไมเนนผูกระทําทั้งสองหนวยสราง นาจะเปนเพราะผูเขียนตองการแสดงผลการ
วิเคราะหวิจัยหลักฐานและขอเท็จจริงอยางเปนกลาง ซึ่งจะทําใหงานเขียนนั้นๆ มี
ความนาเชื่อถือมากกวาที่ผูเขียนจะแสดงความเปนสวนตัว สวนการใชนามวลีแปลง
และประโยคกรรมวาจกในภาษากฎหมายเพื่อแสดงระยะหางจากผูอาน อาจ
เนื่องมาจากภาษากฎหมายเปนภาษาที่ใชกําหนดกฎเกณฑใหคนโดยทั่วไปตอง
ยึดถือและปฏิบัติตาม ไมไดเจาะจงหรือบังคับเฉพาะคนใดคนหนึ่ง อีกทั้งยังตองแสดง
ความศักดิ์สิทธิ์และอํานาจ จึงไมแสดงความเปนสวนตัวหรือความสนิทสนมกับผูอาน
เชนกัน
สรุป
บทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณลักษณะการเวนระยะหางจากผูฟง
หรือผูอานใน 4 ทําเนียบภาษาของไทย ไดแก ภาษากฎหมาย ภาษาการเมือง ภาษา
สื่อ และภาษาวิชาการ โดยมุงหาลักษณะทางภาษาที่เปนตัวบงชี้คุณลักษณะดังกลาว
ผลการวิเคราะหพบลักษณะทางภาษาที่สําคัญ 3 ประเภทที่สามารถเปนตัวบงชี้
คุณลักษณะการเวนระยะหางจากผูฟงหรือผูอานในทําเนียบภาษาตางๆ ได ไดแก
1) คําสรรพนามบุรุษที่ 1 และ 2 2) นามวลีแปลง และ 3) ประโยคกรรมวาจก การปรากฏ
ของสรรพนามบุรุษที่ 1 ซึ่งอางถึงตัวผูพูดหรือผูเขียน และการปรากฏของสรรพนาม
บุรุษที่ 2 ซึ่งอางถึงตัวผูฟงหรือผูอาน เปนตัวบงชี้ที่แสดงถึงความสนิทสนมระหวาง
ผูพูดกับผูฟงหรือผูเขียนกับผูอาน สวนการปรากฏของนามวลีแปลงและประโยค
กรรมวาจกเปนตัวบงชี้ที่แสดงการเวนระยะหางจากผูฟงหรือผูอาน ผลการวิเคราะห
ความถี่ในการปรากฏของตัวบงชี้แสดงความสนิทสนมกับผูฟงหรือผูอานซึ่งก็คือคํา
สรรพนามบุรุษที่ 1 และ 2 พบวา ทําเนียบภาษาที่แสดงความสนิทสนมกับผูฟงมาก