Page 92 -
P. 92

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                                         ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555)   81

                เรื่องประเภทแนะน าหนังสือโดยการน าหนังสือที่พระบรมวงศานุวงศ์ทรงแต่งและ
                หนังสือที่มีเนื้อหาเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์มาแนะน า นอกจากนี้ยังมีการ
                โต้แย้งหนังสือที่ลบหลู่สถาบันพระมหากษัตริย์ไว้ด้วย กล่าวได้ว่าวารสาร

                วงวรรณคดีนั้นเป็นส่วนหนึ่งในการฟื้นตัวของกลุ่มอนุรักษนิยมในการฟื้นสถานะ
                ให้แก่สถาบันพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยผ่านวงวรรณกรรมนั่นเอง


                                        เอกสำรอ้ำงอิง


                กิตติ  ตันไทย. 2550. ประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
                เกษม  บุญศรี. 2495. “ในวงวรรณคดี.” วงวรรณคดี (กันยายน 2495): 38-40.
                จิตติ  นพวงศ์, หม่อมหลวง. 2489. “ในวงวรรณคดี.” วงวรรณคดี (กุมภาพันธ์
                       2489): 42.

                ชาญวิทย์  เกษตรศิริ. 2538. ประวัติการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
                ดวงมาลย์ (นามแฝง). 2490. “บัวงาม.” วงวรรณคดี (มิถุนายน 2490): 7–8.
                ตรีศิลป์  บุญขจร. 2523. นวนิยายกับสังคมไทย. กรุงเทพ: สร้างสรรค์.
                ธัญญา  สังขพันธานนท์. 2529. ลักษณะและวิวัฒนาการของการวิจารณ์
                       วรรณกรรมในประเทศไทยในรอบหนึ่งศตวรรษ (พ.ศ.2419-2519).

                       ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
                       พิษณุโลก.
                นิรนาม. 2490. “ค าวิจารณ์ของผู้อ่านวงวรรณคดี.” วงวรรณคดี (กุมภาพันธ์
                       2490): 5-9.
                บรรจง  บรรเจิดศิลป์. 2538. วรรณวิจารณ์. กรุงเทพฯ: มติชน.
                ปราณี  ปราบริปู, ลัตติยา อมรสมานกุล และกาญจนา แดงถึก. 2541. เกียรติคุณ

                       ปูชนียาจารย์ด้านภาษาไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทย กรม
                       วิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
                ปรีดา  วัชรางกูล. 2520. พระปกเกล้ากับระบอบประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ:
                       การพิมพ์พระนคร.
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97