Page 111 -
P. 111

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ค าถามที่ส าคัญของการประกันราคายางพาราคือจะมีเกษตรกรใช้การประกันราคาหรือไม่ เนื่องจาก

               เกษตรกรต้องจ่ายเงินค่าเบี้ยประกันก่อน (Up-front Payment) การประกันราคายางจะเหมือนกับโครงการ
               การประกันภัยข้าวนาปีหรือไม่ที่มีอัตราการเข้าร่วม (Take-up Rate) ต่ ามากท าให้รัฐบาลต้องมีการอุดหนุนเงิน

               ค่าเบี้ยประกันที่สูง จนกระทั่งในที่สุดปัจจุบันรัฐได้รับภาระเบี้ยประกันเกือบทั้งหมดให้แก่ชาวนา (ซึ่งจะมี

               ลักษณะเช่นเดียวกับแนวทางการประกันราคายางพาราของภาครัฐที่เป็นภาระด้านงบประมาณค่อนข้างมาก
               ท าให้ไม่สามารถด าเนินการได้อย่างยั่งยืน)


                       ถึงแม้ว่าทางเลือกนี้จะดูคล้ายกับการประกันภัยข้าวนาปี แต่ถ้าพิจารณาให้ละเอียดจะมีข้อแตกต่างที่

               ส าคัญคือการขายประกันความเสี่ยงทางด้านราคา เกษตรกรและผู้รับประกันสามารถสังเกตเห็น (Observe)

               ราคาตลาดของยางพารา จึงมีปัญหาในเรื่องความคลุมเครือ (Ambiguity) ในเรื่องการได้รับการชดเชยจากการ
               ซื้อประกันน้อยกว่าการประกันภัยพิบัติซึ่งมีความไม่แน่นอนสูงในการเกิดภัยพิบัติ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก

                                                                               17
               กระบวนการประกาศพื้นที่ประสบภัยพิบัติของทางการเพื่อให้ได้รับการชดเชย  นอกจากนั้นการที่เสนอให้การ
               ประกันโดยการใช้ราคาเฉลี่ยในช่วงระยะเวลาการประกันก าหนดการชดเชยจะช่วยลดความกังวลหรือความไม่

               มั่นใจแก่เกษตรกรเกี่ยวกับการท าราคา (Price Manipulation) ได้ และยังมีผลให้ค่าเบี้ยประกันต่ าดังที่ได้กล่าว

               มาแล้ว จึงคาดว่าจะท าให้ขายประกันความเสี่ยงทางด้านราคาน่าจะมีอัตราการเข้าร่วม (Take-up Rate) ของ
               เกษตรกรที่ยอมรับได้



                       อย่างไรก็ตาม เช่นเดียวกับข้อเสนอในการใช้สัญญา Forward ประเด็นทางนโยบายที่ต้องพิจารณาใน
               การประกันความเสี่ยงทางด้านราคา คือเรื่องการจัดตั้งองค์กรกลางผู้รับผิดชอบรวมถึงกระบวนการจัดการ

               ต่างๆ และที่ส าคัญคือรายละเอียดแนวทางการบริหารความเสี่ยงขององค์กรกลาง ตลอดจนการประเมินโอกาส
               และขนาดของความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น (Potential Losses) ของการบริหารความเสี่ยงในทางเลือกต่าง ๆ

               เนื่องจากประกันราคาเป็นตราสารสิทธิประเภท Put Option ท าให้ไม่สามารถใช้สัญญาล่วงหน้าเพื่อปิดความ

               เสี่ยง ในลักษณะ Back-to-Back Transaction ได้ การบริหารความเสี่ยงอาจท าได้โดยการซื้อขายยางล่วงหน้า
               เพื่อปิดความเสี่ยงโดยลักษณะ Dynamic Hedging ซึ่งต้องอาศัยตลาดล่วงหน้าที่มีสภาพคล่องในต่างประเทศ

               ท าให้เปิดกับความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน นอกจากนั้นการใช้ราคาเฉลี่ยในช่วงระยะเวลาการประกันในการ
               ก าหนดการชดเชยเป็น Asian Option การป้องกันความเสี่ยงจะมีความซับซ้อนมากกว่าการใช้ราคา ณ วันครบ

               ก าหนดเพียงราคาเดียว ดังนั้นจึงมีความจ าเป็นในการประเมินภาระความสูญเสียโดยการจ าลอง (Simulation)

               ภายใต้สถานการณ์และกลยุทธ์ต่างๆ ของการบริหารความเสี่ยง เพื่อช่วยตัดสินใจว่าองค์กรกลางควรจะจัดการ
               ความเสี่ยงด้วยตัวเองหรือจะใช้การประกันภัยต่อ (Reinsurance) ถ้าจะมีการขายประกันความเสี่ยงทางด้าน

               ราคาแก่เกษตรกร



               17  การศึกษาที่เกี่ยวกับปัญหาในเรื่องความคลุมเครือ (Ambiguity) กับการประกัน เช่น Kunreuther, H. and Robin M. Hogarth (1992). How
               does Ambiguity Affect Insurance Decisions? In Georges Dionne (Editor), Contributions to Insurance Economics: Volume 13 of
               the series Huebner International Series on Risk, Insurance and Economic Security, 307-324.

                                                                                                        98
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116