Page 9 -
P. 9

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                      บทสรุปส าหรับผู้บริหาร


                              ปัญหาส าคัญของการผลิตข๎าวหอมมะลิไทยในปัจจุบันมี 2 ประเด็นหลัก ปัญหาประการแรกคือผลผลิตข๎าว
                       หอมมะลิออกสูํตลาดในชํวงเดียวกันสํงผลให๎ราคาข๎าวหอมมะลิตกต่ าในชํวงฤดูเก็บเกี่ยว เกษตรกรจึงมีรายได๎น๎อยลง
                       จากผลด๎านราคา แม๎วํารัฐบาลจะมีนโยบายให๎สินเชื่อเพื่อชะลอการขายข๎าวเปลือกนาปี (จ าน ายุ๎งฉาง) แตํผลผลิตข๎าวที่
                       เข๎าสูํโครงการฯ ยังไมํได๎ตามเป้าหมายที่ก าหนดและยังมีสัดสํวนน๎อยเมื่อเทียบกับปริมาณข๎าวที่ออกสูํตลาด ปัญหา
                       ประการที่สองเป็นประเด็นด๎านคุณภาพ ซึ่งในชํวงหลายปีที่ผํานมาราคาข๎าวหอมมะลิของไทยลดต่ าลงและอยูํในระดับ
                       ที่สูงกวําข๎าวหอมจากประเทศอื่นไมํมากนัก แสดงให๎เห็นวําคําความจ าเพาะของคุณภาพข๎าวหอมมะลิที่ตลาดเคยให๎
                       กับข๎าวหอมมะลิเริ่มหมดไป สาเหตุส าคัญนําจะมาจากปัจจัยด๎านคุณภาพที่ลดลง อยํางไรก็ตามที่ผํานมายังไมํปรากฏ
                       งานวิจัยที่เกี่ยวข๎องกับรูปแบบและกระบวนการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ ปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าว
                       หอมมะลิและการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิแตํละวิธี ซึ่งจะเป็นข๎อมูล
                       ส าคัญในการสร๎างเครื่องมือเชิงนโยบายในการจัดการอุปทานข๎าวหอมมะลิโดยเฉพาะในฤดูเก็บเกี่ยว นอกจากนั้น
                       ผลการวิจัยในประเด็นรูปแบบการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิและความสัมพันธ์ของการจัดการยุ๎งฉางตํอคุณภาพข๎าวหอม
                       มะลิของเกษตรกรก็ยังไมํปรากฏผลการวิจัยเชิงประจักษ์ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข๎อ ได๎แกํ
                              1) ศึกษาสภาพยุ๎งฉาง รูปแบบ กระบวนการเก็บรักษาข๎าวเปลือกหอมมะลิและต๎นทุนสํวนเพิ่มของการ
                       จัดเก็บข๎าวเปลือกหอมมะลิของเกษตรกร

                              2) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิและการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของ
                       เกษตรกร
                              3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกระบวนการจัดการหลังเก็บเกี่ยวโดยเฉพาะการจัดการยุ๎งฉางที่มีตํอคุณภาพ
                       ข๎าวหอมมะลิ ได๎แกํ ความหอม เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ และความชื้นของข๎าวเปลือกในยุ๎งฉาง
                              รูปแบบการวิจัยใช๎การวิจัยแบบผสม คือ  การวิจัยเชิงส ารวจ (survey  research)  รํวมกับการวิจัยเชิง
                       ทดลอง (experimental  research) ซึ่งการวิจัยเชิงส ารวจมีพื้นที่ศึกษาในแหลํงเพาะปลูกข๎าวหอมมะลิที่ส าคัญใน
                       ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 9 จังหวัด ได๎แกํ นครพนม ยโสธร ร๎อยเอ็ด มหาสารคาม นครราชสีมา อุบลราชธานี
                       สุรินทร์ ศรีสะเกษ และบุรีรัมย์ เก็บรวบรวมข๎อมูลโดยการสัมภาษณ์และเก็บตัวอยํางข๎าวของเกษตรกรผู๎ปลูกข๎าว
                       หอมมะลิ ในปีการผลิต 2560/61 สุํมตัวอยํางจากกรอบรายชื่อเกษตรกรในพื้นที่ศึกษาที่สร๎างขึ้น รวมจ านวน
                       ตัวอยําง 330 ครัวเรือน จ าแนกตามสภาพแวดล๎อมการผลิตคือพื้นที่ชลประทานและพื้นที่นาน้ าฝน รวมทั้งจ าแนก
                       ตามรูปแบบการผลิตคือเกษตรกรที่ปลูกข๎าวหอมมะลิอินทรีย์และเกษตรกรที่ปลูกข๎าวหอมมะลิทั่วไป ส าหรับการวิจัย
                       เชิงทดลองได๎ท าการศึกษารูปแบบการจัดเก็บข๎าวที่เหมาะสมส าหรับข๎าวหอมมะลิอินทรีย์และข๎าวหอมมะลิทั่วไปใน
                       ยุ๎งฉาง 3 ชนิด ได๎แกํ ยุ๎งไม๎ ยุ๎งสังกะสี และเก็บในบ๎าน ท าการทดลองที่ บ๎านผือฮี ต าบลดงแดง อ าเภอจตุรพักตร
                       พิมาน จังหวัดร๎อยเอ็ด

                              การวิเคราะห์ข๎อมูลประกอบด๎วย 1) การวิเคราะห์ข๎อมูลใช๎สถิติเชิงพรรณนา ได๎แกํ คําเฉลี่ย ความถี่ และ
                       เปอร์เซ็นต์ เพื่อน าเสนอสภาพยุ๎งฉาง รูปแบบการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกร กระบวนการเก็บรักษา
                       ข๎าวเปลือกและวิธีการจัดการยุ๎งฉาง ส าหรับการวิเคราะห์ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวเปลือกใช๎วิธีการ
                       วิเคราะห์ต๎นทุนที่เป็นเงินสด หมายถึงต๎นทุนที่เกิดจากกิจกรรมหลังการเก็บเกี่ยว 2) การวิเคราะห์ปัจจัยที่มี
                       ผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิและการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของเกษตรกร เป็นการหา
                       ความสัมพันธ์ปัจจัยด๎านกายภาพของเกษตรกรและฟาร์ม ปัจจัยด๎ายเศรษฐกิจ และปัจจัยด๎านสังคมและการสื่อสาร
                       กับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวและการเข๎ารํวมโครงการฯ ของเกษตรกร ใช๎วิธีการวิเคราะห์โดยแบบจ าลอง Binomial
                       logistic regression 3) การวิจัยเชิงทดลองศึกษาในข๎าวหอมมะลิ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ใน 2 รูปแบบการผลิต คือ
                       การผลิตข๎าวหอมมะลิทั่วไป และการผลิตข๎าวหอมมะลิอินทรีย์ โดยใช๎สถานที่ทดลอง 3 แบบ ได๎แกํ ยุ๎งไม๎ ยุ๎งสังกะสี
                       และเก็บข๎าวหอมมะลิในบ๎าน วางแผนการทดลองแบบ factorial in completely randomized design (CRD)
                       จ านวน 2 ปัจจัย คือ รูปแบบการเก็บข๎าวเปลือก 8 รูปแบบ และระยะเวลาการเก็บรักษา 0-6 เดือน 4) การวิเคราะห์
                       ความสัมพันธ์ของรูปแบบการจัดเก็บตํอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าว (2AP เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว ความชื้น และ
                       เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ) ใช๎การวิเคราะห์สมการถดถอดแบบโทบิท (Tobit regression analysis)





                                                                                                         ช
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14