Page 4 -
P. 4

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                            บทคัดย่อ


                              การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพยุ๎งฉาง รูปแบบ กระบวนการเก็บรักษาข๎าวเปลือกหอมมะลิ
                       และต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บของเกษตรกร วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิและ
                       การเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกระบวนการจัดการยุ๎งฉางที่มีตํอคุณภาพข๎าวหอม
                       มะลิ ได๎แกํ ความหอม เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว เปอร์เซ็นต์ท๎องไขํ และความชื้นของข๎าวเปลือกในยุ๎งฉาง โดยใช๎การวิจัย
                       เชิงส ารวจรํวมกับการวิจัยเชิงทดลอง ซึ่งการวิจัยเชิงส ารวจมีพื้นที่ศึกษาในแหลํงเพาะปลูกข๎าวหอมมะลิส าคัญ 9
                       จังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เก็บรวบรวมข๎อมูลและเก็บตัวอยํางข๎าวของเกษตรกรที่ปลูกข๎าวหอมมะลิทั่วไป
                       และข๎าวอินทรีย์ในพื้นที่ชลประทานและพื้นที่นาน้ าฝน ปีการผลิต 2560/61 จ านวน 330 ตัวอยําง สํวนการวิจัยเชิง
                       ทดลองท าการศึกษารูปแบบการจัดเก็บข๎าวที่เหมาะสมส าหรับหอมมะลิอินทรีย์และข๎าวหอมมะลิทั่วไปในยุ๎งฉาง 3
                       ชนิด ได๎แกํ ยุ๎งไม๎ ยุ๎งสังกะสี และเก็บในบ๎าน

                              ผลการศึกษาพบวํา กระบวนการหลังการเก็บเกี่ยวข๎าวหอมมะลิจะใช๎แรงงานในครัวเรือนเป็นหลัก โดย
                       เกษตรกร 81.57% มียุ๎งฉาง ซึ่งเกษตรกรที่เก็บข๎าวหอมมะลิไว๎ขายจะเก็บข๎าวในยุ๎งฉางและมียุ๎งฉางขนาดใหญํกวํา
                       เกษตรกรที่เก็บไว๎เพื่อบริโภคและเลือกวิธีเก็บกองมากกวําเก็บใสํกระสอบ ในขณะที่เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎บริโภคใน
                       ครัวเรือนหรือเก็บไว๎เป็นเมล็ดพันธุ์จะนิยมบรรจุข๎าวในกระสอบวางเรียงแนวนอนซ๎อนกัน โดยยุ๎งฉางที่ใช๎จัดเก็บข๎าว
                       หอมมะลิมีความสูงจากพื้นเฉลี่ยประมาณ 1.45 เมตร และยุ๎งฉางของเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมีความสูงเฉลี่ย
                       น๎อยที่สุด เกษตรกรสํวนหนึ่งจะใช๎พื้นที่ใต๎ยุ๎งฉางเป็นคอกสัตว์หรือสถานที่เก็บอุปกรณ์การเกษตร นอกจากนั้นกํอน
                       น าข๎าวหอมมะลิเข๎าเก็บในยุ๎งฉางเกษตรกรสํวนใหญํจะท าความสะอาดและเข๎าส ารวจความเสียหายของยุ๎งฉางกํอน
                       ความถี่ของการใช๎ยุ๎งฉางเฉลี่ยประมาณหนึ่งครั้งตํอเดือน และเกษตรกรสํวนใหญํใช๎ประสบการณ์ตนเองหรือองค์
                       ความรู๎จากบรรพบุรุษในการจัดเก็บข๎าว วัตถุประสงค์ของการเก็บข๎าวหอมมะลิมี 3 ข๎อคือ เก็บไว๎เพื่อบริโภค ใช๎เป็น
                       เมล็ดพันธุ์ และเก็บไว๎ขาย เกษตรกรที่เก็บผลผลิตไว๎ขายจะมีประมาณ 23.26% สํวนอีก 24.17% เก็บข๎าวไว๎เข๎ารํวม
                       โครงการจ าน ายุ๎งฉางของ ธ.ก.ส. ซึ่งเป็นเกษตรกรรายใหญํที่มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าวหอมมะลิมากกวํา 30 ไรํขึ้นไป
                       ในขณะที่ เกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนเก็บข๎าวไว๎รอราคามากกวําในพื้นที่ชลประทาน ซึ่งเกษตรกรในพื้นที่ชลประทาน
                       สํวนใหญํขายข๎าวทันทีหลังเก็บเกี่ยวเนื่องจากจ าเป็นต๎องลงทุนและใช๎แรงงานส าหรับเตรียมดินปลูกข๎าวนาปรัง
                       นอกจากนั้นภูมิภาคอีสานใต๎มีเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎รอราคาและเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางมากที่สุด
                              ผลการวิเคราะห์ต๎นทุนการปลูกข๎าวหอมมะลิที่เป็นเงินสดเทํากับ 5,066 บาทตํอตัน ราคาข๎าวหอมมะลิ
                       ในชํวงเก็บเกี่ยวที่เกษตรกรได๎รับเฉลี่ย 9,524-10,271 บาทตํอตัน หากเกษตรกรจัดเก็บข๎าวจะมีต๎นทุนสํวนเพิ่ม
                       ประมาณ 526 และ 590 บาทตํอตัน ส าหรับจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ 3 เดือน และ 6 เดือน ตามล าดับ หากค านวณจาก
                       ราคาข๎าวหอมมะลิในปีการผลิต 2560/61 เกษตรกรที่จัดเก็บข๎าวจะมีก าไรเหนือต๎นทุนเงินสดเพิ่มขึ้นจาก 4,954
                       บาทตํอตัน เป็น 9,518-10,244 บาทตํอตัน  ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของ
                       เกษตรกรพบวํา ตัวแปรอิสระในแบบจ าลองสามารถอธิบายการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรได๎ 44% โดยที่
                       แรงงานหลักในการปลูกข๎าวเป็นเพศหญิง รายได๎ของครัวเรือน ภูมิภาค (อีสานเหนือ อีสานกลาง และอีสานใต๎)
                       รูปแบบการผลิตข๎าว ปริมาณผลผลิตข๎าวหอมมะลิ การมียุ๎งฉาง และเกษตรกรที่เคยเข๎ารํวมโครงการชะลอการขาย
                       ข๎าวเปลือกนาปี (จ าน ายุ๎งฉาง) มีอิทธิพลในทิศทางเดียวกับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ
                       ส าหรับโครงการจ าน ายุ๎งฉาง ซึ่งจ านวนเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ ยังไมํได๎ตามผลผลิตเป้าหมายที่ ธ.ก.ส. ก าหนด
                       และผลผลิตข๎าวในโครงการฯ ยังมีสัดสํวนที่น๎อยเมื่อเทียบกับผลผลิตข๎าวที่ออกสูํตลาด ผลการศึกษาพบวําเกษตรกร
                       กลุํมที่เก็บข๎าวไว๎สํวนใหญํเคยเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง โดยเกษตรกรในพื้นที่นาน้ าฝนที่ปลูกข๎าวทั่วไปมีสัดสํวน
                       เกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ สูงที่สุด และเกษตรกรที่เข๎ารํวมโครงการฯ เป็นเกษตรกรรายใหญํที่มีพื้นที่เพาะปลูก
                       ข๎าวหอมมะลิมากกวํา 30 ไรํ ผลการประมาณคําปัจจัยที่มีอิทธิพลตํอการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง พบวํา ตัวแปร
                       อิสระสามารถอธิบายการตัดสินใจเข๎ารํวมโครงการฯของเกษตรกรได๎ 49.09% โดยต๎นทุนคําตากข๎าว การมียุ๎งฉาง
                       ภาคอีสานใต๎ จ านวนแรงงานในครัวเรือน ขนาดพื้นที่เพาะปลูก และรูปแบบการผลิต มีอิทธิพลตํอการตัดสินใจเข๎า
                       รํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางในทิศทางเดียวกันอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ

                              ส าหรับอิทธิพลของรูปแบบการจัดเก็บตํอคุณภาพข๎าวหอมมะลิจากงานวิจัยเชิงทดลอง พบวําคุณภาพข๎าว
                       หอมมะลิทั้งเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวและความหอมลดลงตามระยะเวลาการจัดเก็บ โดยข๎าวหอมมะลิมีความหอมมากที่สุด




                                                                                                         ข
   1   2   3   4   5   6   7   8   9