Page 3 -
P. 3
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ค าน า
คุณภาพของข๎าวหอมมะลินอกจากจะเกิดจากความแปรปรวนของพันธุกรรม การเขตกรรมและ
กระบวนการเก็บเกี่ยวแล๎ว ประเด็นด๎านการจัดการหลังเก็บเกี่ยวโดยเฉพาะกระบวนการจัดเก็บข๎าวก็สํงผลตํอ
คุณภาพข๎าวเชํนกัน ดังนั้นงานวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์ส าคัญ 2 ประเด็น คือ 1) การจัดการอุปทานข๎าวหอมมะลิ
ในชํวงเวลาเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมเพื่อรักษาเสถียรภาพของราคา 2) ความสัมพันธ์ของรูปแบบการจัดการหลังเก็บ
เกี่ยวกับคุณภาพข๎าวหอมมะลิ ซึ่งทั้งสองประเด็นนี้ยังขาดผลการวิจัยเชิงประจักษ์ที่จ าเป็นตํอการก าหนดนโยบาย
และการพัฒนาคุณภาพข๎าวหอมมะลิของไทย โดยกระบวนการวิจัยเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกลําวใช๎การวิจัยแบบ
ผสมคือการวิจัยเชิงส ารวจรํวมกับการวิจัยเชิงทดลอง คณะวิจัยคาดหวังวําผลการศึกษาจะสามารถใช๎เป็นข๎อมูล
พื้นฐานด๎านการจัดการหลังเก็บเกี่ยวข๎าวหอมมะลิแกํผู๎ที่เกี่ยวข๎องในการวางแผนนโยบายเพื่อพัฒนารูปแบบและ
กระบวนการจัดเก็บข๎าวให๎มีคุณภาพเพิ่มขึ้นทั้งคุณภาพการสีและความหอม รวมทั้งเป็นข๎อมูลสนับสนุนการด าเนิน
นโยบายที่เกี่ยวข๎องกับการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิและการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของเกษตกรเพื่อจัดการ
อุปทานข๎าวในชํวงฤดูเก็บเกี่ยวอยํางมีประสิทธิภาพ และเพื่อสร๎างองค์ความรู๎ในการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิที่เหมาะสม
เผยแพรํสูํเกษตรกรและผู๎ที่เกี่ยวข๎องตํอไป
งานวิจัยครั้งนี้เกิดจากข๎อเสนอแนะของผู๎อ านวยการฝ่ายเกษตร ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
รศ.สพญ.ดร.ประภาพร ขอไพบูลย์ ที่เล็งเห็นความส าคัญของหัวข๎อวิจัยนี้ ซึ่งเป็นองค์ความรู๎ที่ยังไมํได๎มีการศึกษาวิจัย
และผลการศึกษาจะเป็นประโยชน์อยํางยิ่งตํอทั้งเกษตรกรและภาคสํวนที่เกี่ยวข๎อง คณะวิจัยต๎องขอบคุณส านักงาน
ประสานงานชุดโครงการ “งานวิจัยเชิงนโยบายเกษตรและเสริมสร๎างเครือขํายงานวิจัยเชิงนโยบาย” โดยกองทุน
สนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสถาบันคลังสมองของชาติ ที่ให๎การสนับสนุนงบประมาณในการวิจัยและอ านวยความ
สะดวกตลอดระยะเวลาการด าเนินโครงการฯ ขอบคุณผู๎ชํวยนักวิจัย คุณวิทวัส บุตรโส และคุณณัฐ นามพลอินทร์
ส าหรับการประสานงาน การจัดเก็บและบันทึกข๎อมูล ขอขอบคุณทํานผู๎ทรงคุณวุฒิที่ได๎ให๎ข๎อเสนอแนะแนวทางการ
วิจัยเพื่อปรับปรุงการด าเนินงานและผลการวิจัยที่เหมาะสม สุดท๎ายขอบคุณนิสิตและบุคลากร มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม เกษตรกรในพื้นที่ศึกษาและภาคสํวนที่เกี่ยวข๎องที่สนับสนุนการวิจัยครั้งนี้ให๎บรรลุตามวัตถุประสงค์
มีนาคม 2562
คณะวิจัย
ก