Page 5 -
P. 5

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       ในการจัดเก็บข๎าวเดือนที่ 1 และปริมาณ 2AP จะลดลงต่ าลงอยํางรวดเร็วในเดือนที่ 3 ในขณะที่ข๎าวหอมมะลิอินทรีย์
                       มีลักษณะทางคุณภาพทั้งเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวและปริมาณสาร 2AP สูงกวําข๎าวหอมมะลิทั่วไป และการเก็บข๎าวในยุ๎งไม๎
                       มีเปอร์เซ็นต์เมล็ดหักต่ า เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวและปริมาณ 2AP  สูงที่สุด การเก็บข๎าวในยุ๎งสังกะสีมีอุณหภูมิและ
                       ความชื้นในกองข๎าวสูงที่สุด มีความชื้นข๎าวเปลือกและปริมาณ 2AP ต่ าที่สุด ซึ่งความชื้นในเมล็ดข๎าวต่ าจะสํงผลให๎
                       เกิดการสูญเสียน้ าหนักของข๎าวเปลือกและการเพิ่มขึ้นของต๎นทุนการจัดเก็บตามมาด๎วย การเก็บข๎าวในตัวบ๎านมี
                       เปอร์เซ็นต์ความชื้นข๎าวเปลือกสูงที่สุด และมีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวต่ าที่สุด นอกจากนั้นเกษตรกรควรจะหลีกเลี่ยงการใช๎
                       กระสอบปุ๋ยเคลือบเพราะท าให๎ข๎าวเปลือกมีความชื้นสูง เปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวต่ า เปอร์เซ็นต์เมล็ดหักสูงและปริมาณ
                       2AP ต่ า แตํหากค านึงถึงเฉพาะเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวพบวําการเก็บข๎าวในถุงตาขํายมีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวสูงแตํมีปริมาณ
                       2AP ต่ า ซึ่งรูปแบบการจัดเก็บข๎าวที่เหมาะสมจะแตกตํางกันตามชนิดของยุ๎งฉางหรือสถานที่เก็บ โดยการจัดเก็บข๎าว
                       แบบเก็บกองมีต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บสูงกวํารูปแบบอื่น ในขณะที่การเก็บในกระสอบอาหารสัตว์เกํามีต๎นทุน
                       สํวนเพิ่มต่ ากวําและก าไรสุทธิสูงกวําการจัดเก็บรูปแบบอื่น
                              ผลการวิเคราะห์คุณภาพข๎าวหอมมะลิจากการสุํมตัวอยํางข๎าวของเกษตรกร พบวํา ข๎าวหอมมะลิอินทรีย์ใน
                       พื้นที่นาน้ าฝนมีคุณภาพดีที่สุด คือมีเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าวและปริมาณ 2AP  สูงที่สุดและมีเปอร์เซ็นต์ข๎าวหักน๎อยที่สุด
                       สอดคล๎องกับผลการวิจัยเชิงทดลอง ในขณะที่เกษตรกรรายใหญํมีคุณภาพข๎าวต่ ากวําเกษตรกรรายเล็ก และการ
                       เปลี่ยนแปลงความชื้นของข๎าวหอมมะลิไมํแตกตํางกันตามสภาพแวดล๎อมหรือรูปแบบการผลิต  อยํางไรก็ตาม
                       ภายหลังจัดเก็บข๎าวหอมมะลิในยุ๎งฉางปริมาณ 2AP ของข๎าวตามสภาพแวดล๎อมและรูปแบบการผลิตไมํแตกตํางกัน
                       ส าหรับคุณภาพข๎าวตามสภาพกายภาพยุ๎งฉาง พบวําความถี่ของการใช๎ยุ๎งฉางไมํมีผลตํอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าว
                       ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงความชื้นและความหอมของข๎าวหอมมะลิแตกตํางกันตามลักษณะการรั่วซึมและการบัง
                       แดดของยุ๎งฉาง นอกจากนั้นการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าวหอมมะลิไมํแตกตํางกันตามความสูงของยุ๎งฉาง แตํวัสดุใต๎
                       ฐานยุ๎งฉางและการยกพื้นยุ๎งฉางท าให๎ความชื้นในเมล็ดข๎าวหอมมะลิแตกตํางกัน โดยใต๎ฐานยุ๎งฉางแบบพื้นดินมี
                       แนวโน๎มที่ความชื้นข๎าวหอมมะลิหลังการจัดเก็บจะลดลงมากกวําพื้นปูน พื้นหิน หรือสถานที่เก็บข๎าวที่ไมํได๎ยกพื้น
                       และการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิโดยรองพื้นยุ๎งฉางมีความชื้นลดลงมากกวําการไมํรองพื้น ผลการประมาณคําปัจจัยที่มี
                       อิทธิพลตํอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข๎าว พบวํา รูปแบบการจัดเก็บที่สํงผลตํอการเปลี่ยนแปลงเมล็ดข๎าวท๎องไขํ มี 2
                       ปัจจัย คือ การรั่วซึมของยุ๎งฉาง และการจัดเก็บข๎าวในกระสอบน้ าตาลในทิศทางเดียวกันกับการเพิ่มขึ้นของเมล็ดข๎าว
                       ท๎องไขํ นั่นคือยุ๎งฉางที่รั่วซึมมากกวํามีความนําจะเป็นที่เปอร์เซ็นต์ข๎าวเมล็ดท๎องไขํจะเพิ่มขึ้น และการจัดเก็บข๎าวใน
                       กระสอบน้ าตาลมีความนําจะเป็นที่จะเกิดข๎าวเมล็ดท๎องไขํได๎มากกวําการจัดเก็บข๎าวแบบเก็บกอง ในขณะที่ปัจจัย
                       อื่นๆ ไมํมีความสัมพันธ์กับการเกิดเมล็ดข๎าวท๎องไขํอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ

                              ข๎อเสนอแนะจากการศึกษา ประการแรกคือโครงการจ าน ายุ๎งฉางที่ผํานมามีเกษตรกรเข๎ารํวมน๎อยและสํวน
                       ใหญํเป็นเกษตรกรรายใหญํ แตํการด าเนินโครงการของรัฐจะต๎องตํอเนื่องและค านวณผลประโยชน์อยํางชัดเจน
                       เพราะเกษตรกรจะต๎องลงทุนสร๎างยุ๎งฉางในการเก็บข๎าวที่เป็นมาตรฐาน และการตากข๎าว ซึ่งเงินลงทุนนี้กวําจะคืน
                       ทุนก็ต๎องใช๎เวลาหลายปี ถ๎านโยบายของรัฐไมํมีความแนํนอนจะไมํมีเกษตรกรกล๎าเสี่ยงลงทุน และควรมีนโยบายที่
                       ด าเนินการควบคูํเพื่อชํวยเหลือเกษตรกรรายยํอยที่ไมํได๎รับประโยชน์จากโครงการฯ โดยเฉพาะการสํงเสริมเกษตรกร
                       รายยํอยให๎ผลิตข๎าวหอมมะลิอินทรีย์ซึ่งจะชํวยยกระดับรายได๎และรักษามาตรฐานคุณภาพข๎าวหอมมะลิไทย
                       นอกจากนั้นการพัฒนาเทคโนโลยีที่ชํวยประหยัดแรงงานในกระบวนการหลังการเก็บเกี่ยวเป็นสิ่งจ าเป็นเพื่อแก๎ไข
                       ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ซึ่งต๎องด าเนินการรํวมกับการพัฒนายุ๎งฉางของเกษตรกรและการก าหนดรูปแบบการ
                       จัดเก็บที่เหมาะสมกับชนิดของยุ๎งฉาง ส าหรับการจัดการคุณภาพควรสํงเสริมข๎าวอินทรีย์เพื่อเป็นแนวทางการเพิ่ม
                       คุณภาพข๎าวหอมมะลิของเกษตรกร และการพัฒนาเทคโนโลยีหรือเครื่องจักรส าหรับการผลิตข๎าวหอมมะลิต๎อง
                       ค านึงถึงผลกระทบตํอปัจจัยด๎านคุณภาพรํวมด๎วย นอกจากนี้การพัฒนาปัจจัยด๎านกายภาพยุ๎งฉางทั้งการรั่วซึมและ
                       การบังแดดจะชํวยรักษาคุณภาพข๎าวหอมมะลิ อยํางไรก็ตามเกษตรกรที่จัดเก็บข๎าวในสถานที่เก็บข๎าวทุกประเภท
                       ควรจะหลีกเลี่ยงการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิในกระสอบเคลือบเพราะคุณภาพข๎าวทุกด๎านต่ าลง ในขณะที่การเก็บข๎าว
                       หอมมะลิในยุ๎งสังกะสีความชื้นข๎าวลดลงมากซึ่งท าให๎ต๎นทุนสํวนเพิ่มในการจัดเก็บสูง โดยการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิใน
                       ทุกสถานที่นั้นเกษตรกรสํวนใหญํนิยมใช๎วิธีเก็บกองและเก็บในกระสอบปุ๋ยซึ่งมีคุณภาพข๎าวต่ ากวําวิธีการแนะน า ซึ่ง
                       วิธีการที่แนะน าคือการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิในกระสอบอาหารสัตว์เกํา ท าให๎ข๎าวหอมมะลิมีคุณภาพสูงที่สุดและมี
                       ต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บต่ าที่สุด เกษตรกรจึงได๎รับก าไรสูงสุดจากการจัดเก็บในรูปแบบนี้และยังสามารถรักษา
                       คุณภาพข๎าวหอมมะลิไว๎ได๎ด๎วยเชํนกัน




                                                                                                         ค
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10