Page 10 -
P. 10

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                       ผลการศึกษาจ าแนกเป็น 3 สํวนที่ส าคัญตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา ดังนี้
                              1) สภาพยุ๎งฉาง รูปแบบ กระบวนการเก็บรักษาข๎าวเปลือกและต๎นทุนสํวนเพิ่มของการจัดเก็บข๎าวเปลือก
                                 ผลการศึกษาพบวํา กระบวนการหลังการเก็บเกี่ยวโดยเฉพาะการตากข๎าวเพื่อลดความชื้นกํอนจัดเก็บ
                       ใช๎แรงงานครัวเรือนเป็นหลัก โดยจ านวนเกษตรกรที่มียุ๎งฉางมีประมาณ 81.57%  เกษตรกรสํวนใหญํ 62.73%
                       จัดเก็บข๎าวหอมมะลิในยุ๎งฉางภายในบริเวณรั้วบ๎าน รองลงมาจัดเก็บในบ๎านและพื้นที่ตํอเติมรอบบ๎าน ความจุของ
                       สถานที่จัดเก็บข๎าวหอมะลิเฉลี่ยประมาณ 13 ตัน เกษตรกรที่เก็บข๎าวหอมมะลิไว๎ขายจะมีขนาดยุ๎งฉางใหญํกวํา
                       เกษตรกรที่เก็บไว๎เพื่อบริโภคและเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานจะมียุ๎งฉางขนาดเล็กกวําพื้นที่อื่นๆ ยุ๎งฉางที่ใช๎เก็บข๎าว
                       หอมมะลิมีอายุเฉลี่ยประมาณ 17.26 ปี โดยที่เกษตรกรประมาณหนึ่งในสามเคยซํอมแซมยุ๎งฉางและเกษตรกรที่เก็บ
                       ข๎าวไว๎ขายจะมีสัดสํวนเกษตรกรที่เคยซํอมแซมยุ๎งฉางสูงกวําเกษตรกรกลุํมอื่น ยุ๎งฉางที่ใช๎จัดเก็บข๎าวหอมมะลิมีความ
                       สูงจากพื้นประมาณ 1.45 เมตร แตกตํางกันตามสภาพแวดล๎อมในการผลิตคือเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานมียุ๎งฉางที่
                       มีความสูงเฉลี่ยน๎อยที่สุด ในสํวนของวัสดุที่ใช๎ในการสร๎างยุ๎งฉางหรือสถานที่เก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกรสํวนใหญํ
                       91.83% นิยมใช๎พื้นเป็นไม๎ ผนังเป็นไม๎หรือสังกะสี สํวนเกษตรกรที่เก็บข๎าวในบ๎านหรือพื้นที่ตํอเติมรอบบ๎านพื้นของ
                       ยุ๎งฉางจะเป็นซีเมนต์หรือกระเบื้องและปูรองพื้นกํอนจัดเก็บข๎าว ยุ๎งฉางสํวนใหญํยกพื้นสูง ซึ่งเกษตรกรจะใช๎พื้นที่ใต๎
                       ยุ๎งฉางเป็นคอกสัตว์หรือเก็บอุปกรณ์การเกษตร

                                 กํอนน าข๎าวเข๎าเก็บในยุ๎งฉางหรือสถานที่จัดเก็บข๎าวเกษตรกรจะท าความสะอาดและส ารวจความ
                       เสียหายของยุ๎งฉางกํอน อยํางไรก็ตามแม๎วําเกษตรกรบางรายจะมียุ๎งฉางแตํนิยมเก็บในบ๎านเพราะสะดวกในการยก
                       ข๎าวเปลือกไปสีเพื่อบริโภค ซึ่งความถี่ของการใช๎ยุ๎งฉางเฉลี่ยประมาณหนึ่งหรือสองครั้งตํอเดือน  ในสํวนขององค์
                       ความรู๎ในการจัดเก็บข๎าวเกษตรกรสํวนใหญํใช๎ประสบการณ์ตนเองและบรรพบุรุษ แม๎วําเกษตรกรประมาณหนึ่งในสาม
                       เคยอบรมความรู๎เกี่ยวกับการจัดเก็บข๎าวโดยเฉพาะการตากข๎าวหรือระดับความชื้นข๎าวเปลือกที่เหมาะสม แตํไมํเคย
                       อบรมรูปแบบการจัดเก็บข๎าวที่เหมาะสมส าหรับรักษาคุณภาพข๎าวเปลือก
                                 ผลการวิเคราะห์ต๎นทุนการปลูกข๎าวหอมมะลิที่เป็นเงินสดของเกษตรกรพบวําเกษตรกรมีต๎นทุนเฉลี่ย
                       5,066  บาทตํอตัน ราคาข๎าวหอมมะลิที่เกษตรกรได๎รับในชํวงเก็บเกี่ยวเฉลี่ยประมาณ 9,524-10,271  บาทตํอตัน
                       เมื่อพิจารณาต๎นทุนสํวนเพิ่มจากการจัดเก็บข๎าวหอมมะลิโดยใช๎ราคาข๎าวหอมมะลิในปีการผลิต 2560/61 พบวํา
                       เกษตรกรมีต๎นทุนสํวนเพิ่มจากการสูญเสียน้ าหนักและเปอร์เซ็นต์ต๎นข๎าว 190 และ 254 บาทตํอตัน ส าหรับการขาย
                       ข๎าวหอมมะลิหลังจัดเก็บ 3 เดือน และ 6 เดือน ตามล าดับ เมื่อรวมกับต๎นทุนคําตากข๎าวแล๎วเกษตรกรจะมีต๎นทุน
                       สํวนเพิ่มเฉลี่ย 526 และ 590 บาทตํอตัน ส าหรับจัดเก็บข๎าวหอมมะลิ 3 เดือน และ 6 เดือน ตามล าดับ ดังนั้น
                       เกษตรกรจะมีก าไรเหนือต๎นทุนเงินสดเพิ่มขึ้นจาก 4,954 บาทตํอตัน เป็น 9,518-10,244 บาทตํอตัน
                              2) การตัดสินใจจัดเก็บข๎าวและการเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางของเกษตรกร

                                 วัตถุประสงค์ของการเก็บข๎าวของเกษตรกรมี 3  วัตถุประสงค์หลักคือ เก็บไว๎เพื่อบริโภคในครัวเรือน
                       และใช๎เป็นเมล็ดพันธุ์ (52.57%) เก็บไว๎ขาย (23.26%)  เก็บไว๎เพื่อเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง (24.17%) ซึ่ง
                       เกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎ขายหรือเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉางสํวนใหญํจะเป็นเกษตรกรรายใหญํที่มีพื้นที่เพาะปลูกข๎าว
                       หอมมะลิมากกวํา 30  ไรํขึ้นไป นอกจากนี้ยังพบวํา เกษตรกรในพื้นที่ชลประทานสํวนใหญํขายข๎าวทันทีหลังเก็บ
                       เกี่ยวเนื่องจากจ าเป็นต๎องน าเงินมาลงทุนในการปลูกข๎าวในฤดูนาปรังและบางสํวนต๎องเตรียมพื้นที่ส าหรับปลูกข๎าว
                       นาปรังจึงขาดแคลนแรงงานในการตากข๎าว ในขณะที่พื้นที่นาน้ าฝนมีสัดสํวนของเกษตรกรที่เก็บข๎าวไว๎รอราคา
                       มากกวําในพื้นที่ชลประทาน และภูมิภาคอีสานใต๎มีเกษตรกรที่เก็บข๎าวหอมมะลิไว๎รอราคาและเข๎ารํวมโครงการจ าน า
                       ยุ๎งฉางมากที่สุด
                                 ผลการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบตํอการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิของเกษตรกร พบวําตัวแปรอิสระ
                       ในแบบจ าลองสามารถอธิบายการตัดสินใจจัดเก็บข๎าวของเกษตรกรได๎ 44.91% โดยครัวเรือนที่มีแรงงานหลักในการ
                       ปลูกข๎าวเป็นเพศหญิง รายได๎ของครัวเรือน ภูมิภาค (อีสานเหนือ อีสานกลาง และอีสานใต๎) รูปแบบการผลิตข๎าว
                       ปริมาณผลผลิตข๎าวหอมมะลิ การมียุ๎งฉาง และเกษตรกรที่เคยเข๎ารํวมโครงการจ าน ายุ๎งฉาง มีอิทธิพลตํอการ
                       ตัดสินใจจัดเก็บข๎าวหอมมะลิอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยครัวเรือนที่มีสัดสํวนแรงงานเพศหญิงมากจะตัดสินใจ
                       จัดเก็บข๎าวไว๎รอราคามากกวํา เนื่องจากกระบวนการจัดการหลังเก็บเกี่ยวเป็นขั้นตอนที่ต๎องใช๎ความละเอียดและมี
                       การปฏิบัติอยํางตํอเนื่อง ในขณะที่รายได๎ของครัวเรือนมีเครื่องหมายหน๎าสัมประสิทธิ์เป็นลบหมายถึงครัวเรือนที่มี
                       รายได๎มากกวํามีความนําจะเป็นที่จะขายทันทีหลังเก็บเกี่ยวมากกวํา ซึ่งสัดสํวนรายได๎จากนอกภาคการเกษตรคิดเป็น



                                                                                                         ซ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15