Page 187 -
P. 187
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
2) ชั้นขน�ด (size class) ของโครงสร้�ง แจงเป็น 4 แบบ คือ เล็กม�ก (very fine) เล็ก
(fine) ป�นกล�ง (medium) หย�บ (coarse) และหย�บม�ก (very coarse) ต�มประเภทโครงสร้�ง
ดังต�ร�งที่ 7.2
ต�ร�งที่ 7.2 ก�รจำ�แนกขน�ดของหน่วยโครงสร้�งดินประเภทต่�งๆ (หน่วยคว�มย�ววัดเป็นมิลลิเมตร)
ชั้นขน�ด
รูปร่�ง
เล็กม�ก เล็ก ป�นกล�ง หย�บ หย�บม�ก
ก้อนกลม (เส้นผ่�ศูนย์กล�ง) <1 1-2 2-5 5-10 >10
ก้อนเหลี่ยม (เส้นผ่�ศูนย์กล�ง) <5 5-10 10-20 20-50 >50
แผ่น (คว�มหน�) <1 1-2 2-5 5-10 >10
แท่ง (เส้นผ่�ศูนย์กล�ง) <10 10-20 20-50 50-100 >100
ที่ม� : คณ�จ�รย์ภ�ควิช�ปฐพีวิทย� (2548)
เกณฑ์สำ�หรับก�รประเมินโครงสร้�งดินด้�นขน�ด มีดังนี้ (1) โครงสร้�งแบบก้อน
กลม ก้อนเหลี่ยม และแท่ง ให้ถือว่�ระดับคุณภ�พสูงขึ้นเมื่อขน�ดใหญ่ขึ้น และ (2) โครงสร้�งแบบแผ่น
เป็นแบบโครงสร้�งที่ไม่พึงประสงค์ และให้ถือว่�ระดับคุณภ�พตำ่�ลงขึ้นเมื่อคว�มหน�ม�กขึ้น
3) ชั้นคุณภ�พ (grade) หรือระดับของโครงสร้�ง แจงเป็น 4 ขั้นดังนี้
คุณภ�พขั้นที่ 1 ไม่มีโครงสร้�ง (structureless) ไม่ดีสำ�หรับพืชไร่และพืชสวน แต่
ใช้ได้สำ�หรับก�รทำ�น�
คุณภ�พขั้นที่ 2 โครงสร้�งอ่อนแอ (weak) ไม่ค่อยดีสำ�หรับพืชไร่และพืชสวน
คุณภ�พขั้นที่ 3 โครงสร้�งแข็งแรงป�นกล�ง (moderate) ดีป�นกล�งสำ�หรับพืชไร่
และพืชสวน
คุณภ�พขั้นที่ 4 โครงสร้�งแข็งแรง (strong) ดีม�กสำ�หรับพืชไร่และพืชสวน
1.3 คว�มหน�แน่นรวม
คว�มหน�แน่นรวมของดิน เป็นตัวชี้บอกก�รแน่นทึบของดิน เนื่องจ�กดินที่แน่นทึบมีคว�ม
หน�แน่นรวมสูงขึ้นและขน�ดของรูพรุนเล็กลง
1.3.1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคว�มหน�แน่นรวมของดิน มี 2 อย่�ง คือ
1) สมบัติภ�ยในของดิน ที่เกี่ยวข้องกับคว�มหน�แน่นรวมของดินได้แก่ เนื้อดิน คว�ม
หน�แน่นของแร่ประกอบดิน อนุภ�คของส�รอินทรีย์ และลักษณะก�รจัดและอัดตัวของอนุภ�คดิน โดย
ปรกติแร่ต่�งๆ มีคว�มหน�แน่นรวม 2.65 กรัม/ลูกบ�ศก์เซนติเมตร ดินเนื้อป�นกล�งซึ่งมีคว�มพรุน 50%
สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย 183