Page 190 -
P. 190

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




               1.4 ก�รยุ่ยของก้อนดิน (slaking)
                      ก�รยุ่ยของก้อนดิน  คือ  ก�รแตกของก้อนดินแห้ง  (ขน�ด  >2-5  มม.)  กล�ยเป็นเม็ดดินเล็ก

          (ขน�ด <0.25 มม.) เมื่อก้อนดินดูดนำ้�อย่�งรวดเร็วหลังจ�กก้อนดินจมนำ้� ก�รยุ่ยเกิดขึ้นห�กก้อนดินไม่
          แข็งแรงพอที่จะต่อต้�นคว�มเครียดอันเกิดจ�กก�รดูดนำ้�เข้�ไปอย่�งทันทีทันใด คว�มเครียดภ�ยในที่เกิด

          ก�รจ�กดูดนำ้�อย่�งรวดเร็วของก้อนดิน  คือ  ก�รขย�ยตัวที่แตกต่�งกันของดินเหนียวแบบต่�งๆ  ก�รดัน
          ของฟองอ�ก�ศ แรงจ�กก�รเคลื่อนที่ของนำ้�และพลังง�นคว�มร้อนที่ปลดปล่อยเมื่อดินเปียก
                   ก�รยุ่ยของก้อนดินเป็นสมบัติตรงกันข้�มกับเสถียรภ�พของเม็ดดิน  เนื่องจ�กเสถียรภ�พของ

          เม็ดดินแสดงถึงระดับคว�มทนท�นของเม็ดดินต่อแรงภ�ยนอกที่ม�กระทำ�  เช่น  แรงกระแทกของเม็ดฝน
          ที่ทำ�ให้เม็ดดินแตกกระจ�ย ดังนั้นดินซึ่งเสถียรภ�พของเม็ดดินตำ่�และยุ่ยง่�ย มีแนวโน้มที่จะเกิดแผ่นแข็ง

          ผิวดินง่�ย ก�รแทรกซึมนำ้�ตำ่� คว�มชื้นที่เป็นประโยชน์ตำ่� มีนำ้�บ่�ม�ก และก�รกร่อนดินสูง
                   1.4.1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับก�รยุ่ยของของก้อนดิน มี 2 อย่�ง คือ
                      1) สมบัติภ�ยในของดิน ได้แก่ เนื้อดิน ชนิดของแร่ดินเหนียว และอินทรียวัตถุ แร่ดิน

          เหนียวมอนต์มอริลโลไนต์ (montmrillonite) มีสมบัติในก�รขย�ยตัวม�กเมื่อเปียกและหดตัวม�กเมื่อแห้ง
          ก�รยุ่ยของดินจึงขึ้นอยู่กับปริม�ณมอนต์มอริลโลไนต์ในดิน นอกจ�กนี้ยังขึ้นอยู่กับคว�มชื้นเดิมและคว�ม

          รวดเร็วที่ก้อนดินดูดนำ้� กล่�วคือก�รยุ่ยของก้อนดินจะเกิดขึ้นเร็วกับกับดินแห้งซึ่งได้รับนำ้�อย่�งรวดเร็ว
                      2) สมบัติดินที่มีพลวัต อินทรียวัตถุส่งเสริมก�รเกิดเม็ดดินและสร้�งเสถียรภ�พของเม็ด
          ดิน  ดังนั้นก�รจัดก�รดินทุกด้�นที่มีผลให้ปริม�ณอินทรียวัตถุในดินลดลง  ล้วนเป็นส�เหตุให้ก้อนดินยุ่ย

          ง่�ยทั้งสิ้น
                   1.4.2 คว�มสัมพันธ์กับก�รทำ�หน้�ที่ของดิน  ก�รยุ่ยของก้อนดินบ่งบอกเสถียรภ�พของเม็ด

          ดิน  จึงสัมพันธ์กับสภ�พของโครงสร้�งดิน  คว�มชื้น  และก�รถ่�ยเทอ�ก�ศ  ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับก�ร
          เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตในดิน ตลอดจนแนวโน้มของก�รกร่อนดินด้วย
                   1.4.3 วิธีก�รประเมินในภ�คสน�ม มีดังนี้ คือ นำ�ก้อนดินแห้งม�จ�กบริเวณที่ต้องก�รทดสอบ

          ม�ใส่ในกระชอน (ภ�พที่ 7.5 ซ้�ย) แล้วแช่กระชอนในนำ้� (ภ�พที่ 7.5 ขว�) และศึกษ�ข้อมูลเป็นเวล� 5
          น�ทีต�มที่ระบุไว้ในต�ร�งที่ 7.4 แล้วประเมินระดับเสถียรภ�พของก้อนดิน (ระดับ 0 ถึง 6) จ�กพฤติกรรม

          ก�รยุ่ยของก้อนดินในนำ้�















                 ภ�พที่ 7.5  ก�รใส่ก้อนดินในกระชอน (ซ้�ย) และ ก�รจุ่มกระชอนในนำ้�ให้นำ้�ท่วมก้อนดิน (ขว�)


      186        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195