Page 193 -
P. 193

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                        คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





                         สรุปได้ว่�ก�รจัดก�รดินที่เพิ่มอัตร�ก�รแทรกซึมนำ้�  คือ  1)  ใส่ปุ๋ยอินทรีย์  2)  ปลูกพืช
            อย่�งต่อเนื่องด้วยระบบพืชหมุนเวียน ส่วนก�รจัดก�รดินที่ลดอัตร�ก�รแทรกซึมนำ้� คือ 1) นำ�เศษซ�กพืช

            ออกจ�กแปลงหรือเผ� 2) ก�รไถพรวนอย่�งต่อเนื่อง และ 3) ก�รบดอัดของล้อย�นยนต์
                     1.6.2 คว�มสัมพันธ์กับก�รทำ�หน้�ที่ของดิน   ก�รแทรกซึมนำ้�เป็นสมบัติที่บ่งบอกถึงคว�ม
            ส�ม�รถของดินในก�รกระจ�ยนำ้�ไปในชั้นดิน ขณะที่ดินต้องเก็บนำ้�ไว้เพื่อให้ร�กพืชและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ใช้

            ประโยชน์ด้วย  เมื่อนำ้�ที่ดินได้รับม�กกว่�อัตร�ก�รแทรกซึมนำ้�ของดิน    ห�กเป็นที่ลุ่มจะเกิดภ�วะนำ้�ขัง
            แต่ถ้�เป็นที่ล�ดก็จะมีนำ้�ไหลบ่�  และเป็นส�เหตุของก�รกร่อนดิน  ห�กดินมีอัตร�ก�รแทรกซึมนำ้�สูงเกิน

            ไป  ก็ไม่อ�จกักเก็บนำ้�ไว้ให้เพียงพอสำ�หรับพืชและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ  จึงจำ�เป็นต้องจัดก�รให้ดินมีอัตร�ก�ร
            แทรกซึมนำ้�ที่เหม�ะสมกับสภ�พก�รใช้ประโยชน์ที่ดิน
                     1.6.3 ก�รประเมินในสน�ม  ทำ�ต�มขั้นตอนดังภ�พที่  7.6  คือ  (1)  ตอกท่อโลหะขน�ดเส้น

            ผ่�ศูนย์กล�ง 6 นิ้วลงไปในดินลึก 3 นิ้ว (2) ปูพล�สติกแล้วเทนำ้� 444 มล. จ�กขวดลงไปที่แผ่นพล�สติก
            (3) ค่อยๆ ล�กแผ่นพล�สติกออกเพื่อให้นำ้�ซึมลงไปในดิน (ภ�พที่ 7.7) และ (4) จับเวล�ที่นำ้�ซึมจนเห็น

            ผิวดินที่ฉำ่�นำ้� แล้วประเมินผลต�มต�ร�งที่ 7.6


















               ภ�พที่ 7.6  ตอกท่อโลหะลงไปลึก 3 นิ้ว (ซ้�ย) และ ก�รฝังกรอบโลหะ ปูพล�สติกแล้วเทนำ้�ลงไป (ขว�)
















                      ภ�พที่ 7.7  ล�กแผ่นพล�สติกออกเพื่อให้นำ้�ซึมลงไปในดิน (ซ้�ย) และ จับเวล� (น�ที)
                                  เมื่อเห็นผิวดินประม�ณครึ่งหนึ่งของพื้นที่ในกรอบ (ขว�)







                                                                สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย     189
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198