Page 196 -
P. 196
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
2) ปัจจัยที่มีพลวัต เช่น ปริม�ณเศษซ�กพืชที่ใส่ลงไปในดินม�กและ C : N ratio ของส�ร
อินทรีย์สูง (ไนโตรเจนน้อย) ทำ�ให้ก�รสล�ยตัวช้�จึงมีก�รสะสมอินทรียวัตถุชนิดอนุภ�คปริม�ณม�ก แต่
ถ้�ใส่ส�รอินทรีย์ที่มี C : N ratio ตำ่� (ไนโตรเจนม�ก) และก�รไถพรวนหล�ยครั้ง ทำ�ให้ก�รสล�ยตัวเร็ว
จึงมีก�รสะสมอินทรียวัตถุชนิดอนุภ�คน้อย
2.3 คว�มสัมพันธ์กับก�รทำ�หน้�ที่ของดิน
กล่�วได้ว่�นอกจ�กซ�กจุลินทรีย์แล้ว อินทรียวัตถุชนิดอนุภ�คเป็นส่วนที่สล�ยเร็วที่สุด จึงทำ�
หน้�ที่เป็นแหล่งอ�ห�รและพลังง�นสำ�หรับจุลินทรีย์และสัตว์ในดิน ตลอดจนเป็นแหล่งธ�ตุอ�ห�รของ
พืชด้วย อินทรียวัตถุชนิดอนุภ�คมีบทบ�ทสำ�คัญในก�รสร้�งเม็ดดิน ส่งเสริมก�รแทรกซึมนำ้�และก�ร
ถ่�ยเทอ�ก�ศ เพิ่มคว�มจุในก�รแลกเปลี่ยนแคตไอออนและภ�วะบัฟเฟอร์ของดิน ดูดซับส�รมลพิษ เช่น
โลหะหนักและส�รฆ่�ศัตรูพืช
2.4 ก�รแจงผลก�รประเมิน
เนื่องจ�กขณะนี้ยังไม่มีเกณฑ์ที่แสดงคว�มสัมพันธ์ของผลก�รประเมินระดับของอินทรียวัตถุ
ชนิดอนุภ�คกับคะแนนเชิงคุณภ�พ จึงอ�จระบุผลของก�รจัดก�รดินแบบต่�งๆกับร้อยละของค�ร์บอน
จ�กอินทรียวัตถุชนิดอนุภ�ค เมื่อเทียบกับค�ร์บอนทั้งหมดในอินทรียวัตถุ ดังนี้ ดินไม่มีวัสดุปกคลุม 17%
ดินไม่มีวัสดุปกคลุมด้วยซ�กพืช 20% ดินไม่ไถพรวน 25% และดินทุ่งหญ้�ธรรมช�ติ 40% (USDA,
2009a, 2009b)
3. ตัวชี้บอกท�งชีวภ�พ
ตัวชี้บอกท�งชีวภ�พที่สำ�คัญมี 3 ร�ยก�ร คือ (1) ไส้เดือนดิน (2) ก�รห�ยใจของดิน และ (3)
เอนไซม์ในดิน (Gugino et al., 2009; Joleka et al., 2009; Keoepp et al., 2000; Pakin et al., 1996; Uphoff, 2006)
3.1 ไส้เดือนดิน (earthworms)
ไส้เดือนดินเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีลำ�ตัวเป็นข้อปล้อง พบได้ทั่วไปในดิน ใต้กองใบไม้
หรือใต้มูลสัตว์ (ภ�พที่ 7.9) มีประม�ณ 4,400 ชนิด โดยแบ่งออกได้ต�มลักษณะแหล่งที่อยู่อ�ศัยเป็น 3
กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 อ�ศัยอยู่บริเวณหน้�ดินซึ่งมีเศษซ�กพืชสะสมอยู่และกินเศษพืชเป็นอ�ห�ร กลุ่มที่ 2
อยู่ในดินชั้นบนซึ่งมีอินทรียวัตถุสูง ไชชอนไปในชั้นดินดังกล่�วและกินทั้งดินและอินทรียวัตถุ และกลุ่มที่
3 อยู่ในดินชั้นล่�ง เมื่อไชชอนลงไปในดินก็นำ�เอ�เศษซ�กพืชลงไปเป็นอ�ห�รด้วย มูลไส้เดือนที่ขับออกม�
ประกอบด้วยส�รต่�งๆ ที่ระบบท�งเดินอ�ห�รของมันได้ย่อยแล้ว มีธ�ตุอ�ห�ร เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
โพแทสเซียมและแคลเซียมสูง นอกจ�กนี้ยังมีจุลินทรีย์ต่�งๆ จำ�นวนม�ก มูลไส้เดือนสดมีกิจกรรมของ
จุลินทรีย์และก�รหมุนเวียนธ�ตุอ�ห�รสูงม�ก ไส้เดือนเป็นสัตว์ที่มีคว�มสำ�คัญต่อระบบนิเวศดิน ทำ�หน้�ที่
ย่อยส�รอินทรีย์ในดินและเพิ่มธ�ตุอ�ห�รรูปที่เป็นประโยชน์ ก�รเคลื่อนที่ในดินช่วยเพิ่มช่องว่�ง ทำ�ให้ดิน
ร่วนซุย จึงส่งเสริมก�รก�รเจริญเติบโตของร�กพืช ก�รประเมินคว�มชุกชุมของไส้เดือนในดินบอกด้วยหน่วย
จำ�นวนตัว/ต�ร�งเมตร (Eriksen-Hamel et al., 2009; Hubbard et al., 1999; Whalen, 2003)
192 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย