Page 194 -
P. 194
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
ต�ร�งที่ 7.6 ก�รแจงระดับอัตร�ก�รแทรกซึมนำ้�
อัตร�ก�รแทรกซึมนำ้� อัตร�ก�รแทรกซึมนำ้�
(น�ที/นิ้ว) (นิ้ว/ชั่วโมง) ระดับของก�รแทรกซึมนำ้�
<3 >20 เร็วม�ก
3-10 6-20 เร็ว
10-30 2-6 ค่อนข้�งเร็ว
30-100 0.6-2 ป�นกล�ง
100-300 0.2-0.6 ค่อนข้�งช้�
300-1,000 0.06-0.2 ช้�
1,000-40,000 0.0015-0.06 ช้�ม�ก
>40,000 <0.0015 นำ้�แทรกซึมไม่ได้
2. ตัวชี้บอกท�งเคมี
ตัวชี้บอกท�งเคมีมีเพียงร�ยก�รเดียว คือ อินทรียวัตถุชนิดอนุภ�ค (particulate organic
matter, POM) (Buyanovsky et al., 1994; Jokela et al., 2009; Scharembroch and Lloyd, 2006)
2.1 ลักษณะของอินทรียวัตถุชนิดอนุภ�ค
โดยหลักก�รท�งปฐพีวิทย�ถือว่�อินทรียวัตถุมีบทบ�ทสำ�คัญต่อสมบัติท�งฟิสิกส์ เคมี และชีวภ�พ
ของดิน และเป็นดรรชนีด้�นสถ�นภ�พของธ�ตุอ�ห�รพืชในดิน โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งคว�มเป็นประโยชน์ของ
ไนโตรเจนด้วย อย่�งไรก็ต�ม ก�รสล�ยตัวของอินทรียวัตถุจะได้ส�รประกอบที่คงทน และปลดปล่อย
ไนโตรเจนรูปที่เป็นประโยชน์ค่อนข้�งย�ก ประม�ณ 60-70% ของอินทรียวัตถุในดินเป็นส�รที่สล�ยย�ก
จึงใช้เวล�น�นม�กในก�รสล�ยตัว อย่�งไรก็ต�ม อินทรียวัตถุชนิดอนุภ�คเป็นส่วนของอินทรียวัตถุในดิน
ที่สล�ยตัวได้ง่�ย มีคว�มสัมพันธ์เชิงบวกกับ 1) กิจกรรมก�รเปลี่ยนแปลงของอินทรียวัตถุ 2) ปริม�ณ
ไนโตรเจนซึ่งเป็นองค์ประกอบในจุลินทรีย์ดิน และกิจกรรมก�รเปลี่ยนไนโตรเจนรูปอินทรีย์ม�เป็นรูป
อนินทรีย์ จึงเป็นตัวชี้บอกของไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์ได้ (ต�ร�งที่ 7.7)
อินทรียวัตถุชนิดอนุภ�ค คือ ส่วนของอินทรียวัตถุในดินที่มีขน�ดเล็กกว่� 2 มิลลิเมตร และ
ใหญ่กว่� 0.053 มิลลิเมตร (ภ�พที่ 7.8) อินทรียวัตถุส่วนนี้มีคว�มว่องไวต่อก�รเปลี่ยนแปลงท�งเคมี
และชีวเคมี ทั้งเป็นอินทรียวัตถุไม่คงตัวหรือสล�ยง่�ย ปริม�ณที่พบร�ว 20% ของอินทรีย์ค�ร์บอนในดิน
(Scharenbroch and Lloyd, 2006)
190 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย