Page 184 -
P. 184

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





          เนื่องจ�กขน�ดของช่องในดินเหนียวเล็ก (มักเล็กกว่� 0.002 มม.)  ส่วนช่องในดินทร�ยแม้จะใหญ่แต่มัก
          ไม่เกิน 2 มม. เนื้อดินและโครงสร้�งดินจึงเกี่ยวข้องกับสมบัติต่�งๆ ของดินเช่น ก�รแทรกซึมนำ้� ทั้งมีผล

          กระทบต่อกระบวนก�รในดิน  เช่น  ก�รชะละล�ยธ�ตุอ�ห�ร  ดีไนทริฟิเคชัน  และก�รกร่อนดิน  ในด้�น
          ชีวภ�พนั้นร�กเจริญเติบโตและไชชอนไปต�มช่องว่�งของดิน  ส่วนจุลินทรีย์ก็อ�ศัยอยู่ในช่องว่�งของดิน
          เช่นเดียวกัน

                       นอกจ�กเนื้อดินแล้วปริม�ณและขน�ดเม็ดดินก็มีผลต่อขน�ดของช่องในดินด้วย ดินร่วน
          และดินเหนียวแม้อนุภ�คจะมีขน�ดเล็ก  แต่ถ้�มีเม็ดดินม�กก็มีช่องขน�ดใหญ่ในดิน  สำ�หรับเนื้อดินนั้น

          แม้ว่�จะเป็นสมบัติดินจ�กภ�ยในและไม่ค่อยมีก�รเปลี่ยนแปลง  แต่สมบัติดินที่เกี่ยวข้องกับเนื้อดิน  เช่น
          ปริม�ณของช่องขน�ดต่�งๆ ได้รับผลกระทบจ�กก�รจัดก�รดินและเปลี่ยนแปลงค่อนข้�งเร็ว เม็ดดินและ
          โครงสร้�งดินอ�จถูกทำ�ล�ยและสร้�งใหม่ได้

                   1.1.2 ผลก�รประเมิน  ในก�รประเมินคุณภ�พดินไม่มีก�รแปลงผลก�รวิเคร�ะห์เนื้อดินเป็น
          คะแนน  เพียงแต่ระบุว่�เป็นดินในกลุ่มดินเนื้อหย�บ  ดินเนื้อป�นกล�ง  หรือดินเนื้อละเอียดเท่�นั้น  แต่

          อิทธิพลของเนื้อดินจะไปปร�กฏที่ผลก�รประเมินตัวชี้บอกหล�ยตัวซึ่งเนื้อดินเข้�ไปเกี่ยวข้องอยู่ด้วย  เช่น
          เสถียรภ�พของเม็ดดิน  คว�มชื้นที่เป็นประโยชน์และอินทรียวัตถุในดิน  เป็นต้น  กล่�วคือ  ดินเนื้อหย�บ
          พวกดินทร�ย และดินทร�ยปนดินร่วน (loamy sand) มักจะมีปริม�ณอินทรียวัตถุตำ่�กว่�ดินเนื้อละเอียด

          เช่น  ดินร่วนปนดินเหนียว  (clay  loam)  ทั้งนี้เนื่องจ�ก  (1)  ดินเนื้อหย�บข�ดพันธะที่เชื่อมยึดระหว่�ง
          ส�รอินทรีย์และแร่ อันเป็นกลไกที่ทำ�ให้อินทรียวัตถุในดินมีเสถียรภ�พหรือสล�ยตัวช้�ลง และ (2) ในดิน

          เนื้อหย�บออกซิเจนส�ม�รถแพร่กระจ�ยได้ดี จึงส่งเสริมก�รสล�ยตัวของอินทรียวัตถุในดิน ก�รประเมิน
          อินทรียวัตถุของดิน  จึงสะท้อนคุณภ�พของดินได้เมื่อแปลงเป็นระดับคะแนน  ในทำ�นองเดียวกัน  ดินเนื้อ
          ละเอียดมีเสถียรภ�พของเม็ดดินสูงกว่�ดินเนื้อหย�บ  และระดับคะแนนที่แปลงจ�กผลก�รประเมินตัวชี้

          วัดเหล่�นี้สำ�หรับดินเนื้อละเอียดก็สูงกว่�ดินเนื้อหย�บ ด้วยเหตุนี้เอง ในก�รประเมินคุณภ�พดินด้วยก�ร
          ใช้ระดับคะแนน จึงพบคว�มแตกต่�งระหว่�งกลุ่มเนื้อดิน คือ ดินเนื้อหย�บ ดินเนื้อป�นกล�ง และดินเนื้อ

          ละเอียด
               1.2 โครงสร้�งดิน
                   โครงสร้�งดิน คือ สมบัติท�งฟิสิกส์ของดินที่แสดงถึงรูปแบบของก�รเก�ะยึด ก�รจับกลุ่มหรือ

          ก�รจัดเรียงของอนุภ�คดินปฐมภูมิโดยกลไกธรรมช�ติ   กล�ยเป็นหน่วยโครงสร้�งซึ่งมีลักษณะส�มมิติ
          เรียกว่�ก�รเกิดเม็ดดิน (soil aggregation) ดังภ�พที่ 7.2 เม็ดดิน (soil aggregate) เป็นกลุ่มของอนุภ�ค

          ดินที่เกิดจ�กก�รเชื่อมยึดระหว่�งกัน  โดยอนุภ�คดินในกลุ่มจับกันเหนียวแน่นและแข็งแรงกว่�ที่จับกับ
          อนุภ�คอื่นนอกกลุ่ม  ก�รมีโครงสร้�งทำ�ให้เกิดช่องขน�ดใหญ่ระหว่�งเม็ดดิน  ช่วยในก�รระบ�ยนำ้�และ
          ถ่�ยเทอ�ก�ศ ส่วนเสถียรภ�พของเม็ดดิน (soil aggregate stability) หม�ยถึงคว�มส�ม�รถของเม็ดดิน

          ในก�รต้�นท�นต่อแรงที่ทำ�ให้แยกสล�ย เช่น ก�รไถพรวนและก�รกระแทกของเม็ดฝน




      180        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189