Page 63 -
P. 63
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ การรับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 ปิยะพงษ์ วรรณา และสันติ สุขสอาด
61
ของสัตว์ป่า คิดเป็นร้อยละ 31.3 โดยมีคะแนนสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 18.7, 17.8, 6.3 และ 4.5 ตามล�าดับ
9.0 คะแนน ต�่าสุด 1.0 คะแนน และเฉลี่ย 6.1 คะแนน
ระดับความรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากร การทดสอบสมมติฐาน
สัตว์ป่าอยู่ในเกณฑ์ดีมาก (8.0-10.0 คะแนน) คิด ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้เรื่องการ
เป็นร้อยละ 24.2 รองลงมาได้แก่ กลุ่มนักเรียน อนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
ตัวอย่างที่มีระดับความรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากร ที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การ
สัตว์ป่าอยู่ในเกณฑ์ขั้นต�่า (5.0-5.9 คะแนน) เกณฑ์ รับข่าวสารการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าจากสื่อ
ดี (7.0-7.9 คะแนน) กับเกณฑ์ปานกลาง (6.0-6.9) มี ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า ส่วนปัจจัย
จ�านวนเท่ากัน และต�่ากว่าเกณฑ์ขั้นต�่า (0.0-4.9) คิด ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้เรื่องการอนุรักษ์
เป็นร้อยละ 21.4, 19.6 และ 15.2 ตามล�าดับ ทรัพยากรสัตว์ป่าอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ
0.05 ได้แก่ เพศ จ�านวนสมาชิกในครอบครัว กิจกรรม
การรับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า การเข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่า การเข้าร่วม
การรับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า อบรมในกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากร
ของกลุ่มนักเรียนตัวอย่างพบว่า การรับรู้มากที่สุด 3 สัตว์ป่า การมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับการ
อันดับแรก ได้แก่ บ้านของนักเรียนไม่มีการสะสมซาก อนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า อาชีพของผู้ปกครอง
สัตว์ป่า ประชาชนที่อาศัยรอบแนวเขตรักษาพันธุ์สัตว์ ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านโรงเรียน ปัจจัยด้าน
ป่าล�าน�้าน่านฝั่งขวาไม่สามารถล่าสัตว์ป่าเพื่อน�ามาเป็น ชุมชน และปัจจัยด้านหน่วยงานของรัฐ (Table1)
อาหารได้ และเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าไม่สามารถเข้าไป
ล่าสัตว์ป่าในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าล�าน�้าน่านฝั่ง
ขวาได้ คิดเป็นร้อยละ 92.9, 91.1 และ 84.8 ตามล�าดับ
และการรับรู้น้อยที่สุด ได้แก่ ประชาชนไม่สามารถเข้า
มาชมสัตว์ป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าล�าน�้าน่านฝั่งขวา
คิดเป็นร้อยละ 33.9 โดยมีคะแนนการรับรู้มากที่สุด
15.0 คะแนน น้อยที่สุด 1.0 คะแนน และเฉลี่ย 11.3
คะแนน
ระดับการรับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากร
สัตว์ป่าอยู่ในเกณฑ์ดีมาก (12.0-15.0 คะแนน)
คิดเป็นร้อยละ 52.7 รองลงมาได้แก่ กลุ่มนักเรียน
ตัวอย่างที่มีระดับการรับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากร
สัตว์ป่าอยู่ในเกณฑ์ดี (10.0-11.0 คะแนน) เกณฑ์ปาน
กลาง (9.0-10.0 คะแนน) ต�่ากว่าเกณฑ์ขั้นต�่า (0.0-6.0
คะแนน) และผ่านเกณฑ์ขั้นต�่า (7.0-8.0 คะแนน)