Page 60 -
P. 60
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ การรับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 ปิยะพงษ์ วรรณา และสันติ สุขสอาด
58
4.1 การตรวจสอบความเที่ยงตรง (content การทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่า
validity) ท�าการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (correlation coeffcient: r)
โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความถูกต้องในด้าน โดยใช้สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สันโปรดักโมเมนต์
เนื้อหาและภาษาที่ใช้แล้วน�ามาปรับปรุงแก้ไขตาม (Pearson product moment correlation coeffcient)
ค�าแนะน�าของผู้ทรงคุณวุฒิ และสถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมน (Spearman
4.2 น�าแบบสอบถามจ�านวน 30 ชุด rank-order correlation coefficient) ค่า r มีค่าตั้งแต่
ไปทดสอบกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 -1 ถึง +1 ก�าหนดนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ของโรงเรียนวัดศรีดอก (ประชาพัฒนา) และ การจัดกลุ่มตัวแปร ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัย
โรงเรียนบ้านทุ่งเจริญ (เครือราษฎร์สงเคราะห์) ได้จัดหมวดหมู่ของตัวแปรเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
น�าข้อมูลจากแบบสอบถามมาหาค่าความยาก และทดสอบสมมติฐาน โดยก�าหนดกลุ่มของตัวแปร
(difficulty index) โดยน�าค�าถามที่วัดความรู้เรื่อง และสัญลักษณ์ ดังนี้
การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่ามาวิเคราะห์หาค่า 6.1 กลุ่มตัวแปรอิสระ (X) มีรายละเอียดดังนี้
ความยาก โดยได้ค่าความยากเฉลี่ย 0.59 ซึ่งอยู่ 6.1.1 เพศ (X1) โดยเพศชาย = 1
ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ (ภัทรา, 2532) และหาค่าความ และ เพศหญิง = 0
เชื่อมั่น (reliability) ของค�าถามที่วัดการรับรู้เรื่อง 6.1.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (X2)
การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าตามแบบของ Kuder (ระดับเกรด)
Richardson (KR 20) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.72 6.1.3 จ�านวนสมาชิกในครอบครัว
ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ (เกียรติสุดา, 2552) (X ) (จ�านวนคน)
3
5. การวิเคราะห์ข้อมูล น�าแบบสอบถามที่ 6.1.4 กิจกรรมการเข้าไปใช้ประโยชน์
เก็บรวบรวมได้จ�านวน 112 ชุด มาวิเคราะห์ข้อมูล ในพื้นที่ป่า (X ) (จ�านวนกิจกรรม)
4
ทางสถิติ โดยใช้โปรแกรมส�าเร็จรูปทางสถิติ 6.1.5 การเข้าร่วมอบรมในกิจกรรม
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยค�าถามเกี่ยวกับ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า (X ) (จ�านวน
5
ข้อมูลทั่วไปของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ ครั้ง)
ผู้ปกครอง ข้อมูลกิจกรรมทั่วไปเกี่ยวกับการอนุรักษ์ 6.1.6 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยว
ทรัพยากรสัตว์ป่าและข้อมูลปัจจัยด้านต่างๆ กับการ กับการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า (X ) (จ�านวนครั้ง)
6
รับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า ความรู้ด้าน 6.1.7 การรับข่าวสารการอนุรักษ์
การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า และการรับรู้เรื่อง ทรัพยากรสัตว์ป่าจากสื่อ (X ) (จ�านวนสื่อ)
7
การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า สถิติที่ใช้ได้แก่ การ 6.1.8 ความรู้ด้านการอนุรักษ์
แจกแจงความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ทรัพยากรสัตว์ป่า (X ) (คะแนน)
8
ค่าเฉลี่ย (mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard 6.1.9 อาชีพของผู้ปกครอง (X )
9
deviation) โดยอาชีพภาคเกษตรกรรม = 1 และอาชีพนอก
ภาคเกษตรกรรม = 0