Page 61 -
P. 61
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ การรับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 ปิยะพงษ์ วรรณา และสันติ สุขสอาด
59
6.1.10 ปัจจัยด้านครอบครัว (X ) ร้อยละ 23.2 และ 6.3 ตามล�าดับ ผู้ปกครองของนักเรียน
10
(คะแนน) มีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท่า
6.1.11 ปัจจัยด้านโรงเรียน (X ) มากที่สุดร้อยละ 52..7 รองลงมาได้แก่ มีการศึกษา
11
(คะแนน) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า มัธยมศึกษา
6.1.12 ปัจจัยด้านชุมชน (X ) ตอนปลาย/ปวช./ปกศ. หรือเทียบเท่า ไม่ได้เรียน
12
(คะแนน) หนังสืออ่านเขียนไม่ได้กับไม่ได้เรียนหนังสือ
6.1.13 ปัจจัยด้านหน่วยงานของ แต่อ่านเขียนได้มีจ�านวนเท่ากัน อนุปริญญา/ปวส./ปกศ.
รัฐ (X ) (คะแนน) สูง/ปวท.หรือเทียบเท่า และการศึกษาระดับปริญญาตรี
13
6.2 กลุ่มตัวแปรตาม (Y) โดยก�าหนดการ คิดเป็นร้อยละ 22.3, 17, 2.7, 1.7 และ 0.9 ตามล�าดับ ผู้
รับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าของนักเรียน ปกครองประกอบอาชีพเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 42.9
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รอบพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และผู้ปกครองประกอบอาชีพนอกภาคเกษตรกรรม
ล�าน�้าน่านฝั่งขวา จังหวัดแพร่และอุตรดิตถ์ (คะแนน) คิดเป็นร้อยละ 57.1
ผลและวิจารณ์ ข้อมูลกิจกรรมทั่วไปเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากร
ข้อมูลทั่วไปของนักเรียนและผู้ปกครอง สัตว์ป่า และข้อมูลปัจจัยด้านต่างๆกับการรับรู้เรื่อง
กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นนักเรียนชั้น ทรัพยากรสัตว์ป่า
ประถมศึกษาปีที่ 6 จ�านวน 112 คน ประกอบ กิจกรรมที่นักเรียนเคยปฏิบัติเกี่ยวกับการ
ด้วยนักเรียนหญิงร้อยละ 56.3 และนักเรียนชาย ใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าพบว่า นักเรียนเข้าไปเก็บ
ร้อยละ 43.7 อายุของนักเรียนมีอายุสูงสุด 15 ปี ผักจากป่ามากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 66.1 รองลง
ต�่าสุด 11 ปีและมีอายุเฉลี่ย 12.3 ปี โดยนักเรียน มาได้แก่ นักเรียนเข้าไปเก็บพืชสมุนไพรจากป่า
ที่มีอายุ 12 ปี มีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 66.0 กับเข้าไปเก็บใบไม้จากป่ามีจ�านวนเท่ากัน นักเรียน
รองลงมาได้แก่ นักเรียนที่มีอายุ 13 ปี 11 ปี กับ เข้าไปเก็บไม้ฟืนในป่ากับนักเรียนเข้าไปเก็บผลไม้จากป่า
14 ปี มีจ�านวนเท่ากัน และ 15 ปี คิดเป็นร้อยละ 29.5, มีจ�านวนเท่ากัน นักเรียนเข้าไปดักจับสัตว์ในป่า และ
1.8 และ 0.9 ตามล�าดับ กลุ่มนักเรียนตัวอย่างมีผล นักเรียนเข้าไปตัดไม้ในป่า คิดเป็นร้อยละ 42.0, 38.4,
สัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.1-4.0 มากที่สุด คิดเป็นร้อย 24.1 และ 1.8 ตามล�าดับ
ละ 74.1 รองลงมาได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.1- การเข้าร่วมอบรมในกิจกรรมเกี่ยวกับการ
3.0 และน้อยกว่า 2 คิดเป็นร้อยละ 24.1 และ 1.8 ตาม อนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าพบว่า นักเรียนเคยเข้าร่วม
ล�าดับ โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงสุดเท่ากับ 4.0 อบรมในกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า
ต�่าสุด เท่ากับ 1.7 และเฉลี่ยเท่ากับ 3.3 จ�านวนสมาชิก 2 ครั้ง มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 71.4 รองลงมาได้แก่
ในครัวเรือนของนักเรียนส่วนใหญ่มีจ�านวนสมาชิก เคยเข้าร่วมอบรมในกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์
ในครัวเรือน 4-6 คน คิดเป็นร้อยละ 70.5 รองลงมามี ทรัพยากรสัตว์ป่า 1 ครั้ง และ 3 ครั้ง คิดเป็นร้อย
จ�านวนสมาชิก 1-3 คน และตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป คิดเป็น ละ 25.9 และ 2.7 ตามล�าดับ