Page 66 -
P. 66

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
         วารสารการจัดการป่าไม้                                                                                                    การรับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า...
         ปีที่ 12 ฉบับที่ 23                                                   ปิยะพงษ์ วรรณา และสันติ สุขสอาด
                                                    64
         ด้านหน่วยงานของรัฐของกลุ่มนักเรียนตัวอย่างส่วน  ค�านิยม
         ใหญ่พบว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐมีการอบรมให้ความรู้       ผู้วิจัยขอขอบพระคุณหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์

         นักเรียนเกี่ยวกับเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า    สัตว์ป่าล�าน�้าน่านฝั่งขวา และกลุ่มนักเรียนตัวอย่าง
         คิดเป็นร้อยละ 75.0  คะแนนเฉลี่ยของความรู้เรื่อง  ที่ได้อนุเคราะห์ข้อมูลและอ�านวยความสะดวกใน

         การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าเท่ากับ 6.1 คะแนน   การศึกษาวิจัยครั้งนี้
         คะแนนเฉลี่ยการรับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์
         ป่าของกลุ่มนักเรียนตัวอย่างเท่ากับ 11.3 คะแนน            เอกสารและสิ่งอ้างอิง

         ปัญหาเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าของกลุ่ม  กระทรวงศึกษาธิการ. 2551. หลักสูตรแกนกลาง
         นักเรียนตัวอย่างพบว่า การลักลอบล่าสัตว์ป่าเพื่อน�า   การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

         มาประกอบอาหารหรือเพื่อน�ามาเลี้ยงมากที่สุด คิด       กระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพฯ.
         เป็นร้อยละ 87.5 ส�าหรับแนวทางการแก้ไขปัญหา    เกียรติสุดา ศรีสุข.  2552.  ระเบียบวิจัย. โรงพิมพ์
         ของกลุ่มนักเรียนตัวอย่างต้องการให้มีการท�าป้าย       ครองช่าง, เชียงใหม่.

         ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการรณรงค์หยุดล่าสัตว์ป่ามาก  ดุสิต พานิชพัฒน์.  2542.  การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์
         ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 38.4    การทดสอบสมมติฐาน        ป่า. วารสารสักทอง 24 (2): 10-15.

         พบว่า  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  การรับข่าวสาร   ภัทรา นิคมานนท์.  2532.  การประเมินผลและการ
         การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าจากสื่อ และความรู้        สร้างแบบทดสอบ. อักษราพิพัฒน์, กรุงเทพฯ.
         ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า มีความสัมพันธ์  ส�านักอนุรักษ์สัตว์ป่า.  2560.  ข้อมูลเขต

         กับการรับรู้เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าอย่าง   รักษาพันธุ์สัตว์ป่าในประเทศไทย.
         มีนัยส�าคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตาม      กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,

         สมมติฐานที่ตั้งไว้                                   กรุงเทพฯ.
                ดังนั้น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าล�าน�้าน่านฝั่ง  Krejcie, R.V. and D.W. Morgan. 1970. Determining
         ขวาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรเพิ่มช่องทางสื่อ      Sample Size for Research Activities.

         ในการให้ข้อมูลข่าวสารด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร         Educational and Psychological Measurement
         สัตว์ป่า และมีการอบรมเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากร
                                                              30: 607 -610.
         สัตว์ป่าให้กับเยาวชนรอบพื้นที่เพื่อเพิ่มความรู้ด้าน  ----------------------------------------
         การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าให้สอดคล้องการรับรู้
         ของเยาวชนรอบพื้นที่ เพื่อให้เกิดความรู้และความ

         เข้าใจในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าอย่างถูกต้อง
         ต่อไปในอนาคต
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71