Page 71 -
P. 71
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารการจัดการป่าไม้ ความพึงพอใจของผู้มาเยือนที่มีต่อสิ่งอ�านวยความสะดวก...
ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 ชุมพร ขาวผ่อง และคณะ
69
มาตรวัดของ Likert’s Scale (พรเพ็ญ, 2531) โดย หมู่เกาะรัง อยู่ในระดับมากที่สุด
ค�าถามแต่ละข้อมีค�าตอบให้เลือกตอบ 5 ตัวเลือก การเก็บรวบรวมข้อมูล
หรือ 5 ระดับและก�าหนดค่าการให้คะแนนไว้ ดังนี้ น�าแบบสัมภาษณ์ที่จัดสร้างขึ้นและผ่าน
ระดับความพึงพอใจ ระดับคะแนนที่ได้ การทดสอบเรียบร้อยแล้วไปเก็บรวบรวมข้อมูล
พึงพอใจมากที่สุด 5 คะแนน กับผู้มาเยือนตัวอย่างที่เดินทางมาเยือนในพื้นที่
พึงพอใจมาก 4 คะแนน อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง บริเวณหมู่เกาะรัง
พึงพอใจปานกลาง 3 คะแนน ต�าบลเกาะหมาก อ�าเภอเกาะกูด จังหวัดตราด โดย
พึงพอใจน้อย 2 คะแนน เน้นการเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้มาเยือนที่ได้ด�าเนิน
พึงพอใจน้อยที่สุด - ไม่พึงพอใจ 1 คะแนน กิจกรรมในพื้นที่เสร็จสิ้นแล้ว และเก็บข้อมูลกับผู้
จากเกณฑ์การให้คะแนนระดับความพึง มาเยือนเฉพาะชาวไทยให้กระจายทุกกลุ่ม ใช้วิธี
พอใจดังกล่าว ก�าหนดอันตรภาคชั้นออกเป็น 5 ชั้น การเก็บข้อมูลจากผู้มาเยือนตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มแบบ
แต่ละชั้นมีความกว้างของอันตรภาคชั้น เท่ากับ 0.80 มีระบบ (systematic sampling)ซึ่งหาช่วงการสุ่ม
สามารถแปลความหมายระดับความพึงพอใจได้ดังนี้ ตัวอย่างโดยน�าจ�านวนผู้มาเยือนหารด้วยจ�านวน
ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.80 หมายถึงผู้มาเยือนมี ผู้มาเยือนกลุ่มตัวอย่าง (4,739÷ 369) ได้ช่วงการ
ความพึงพอใจต่อสิ่งอ�านวยความสะดวกและการ สุ่มตัวอย่างเท่ากับ12.84 รายปัดเศษเป็นจ�านวนเต็ม
ให้บริการของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง บริเวณ เท่ากับ 13 ราย และหาหน่วยตัวอย่างล�าดับแรกมา
หมู่เกาะรัง อยู่ในระดับที่ไม่พึงพอใจ - น้อยที่สุด สุ่มหาหมายเลขเริ่มต้น (random start) โดยวิธีการ
ได้ค่าเฉลี่ย 1.81– 2.60 หมายถึงผู้มาเยือน สุ่มตัวเลขอย่างง่าย สมมติว่าสุ่มเลือกได้หมายเลข 7
มีความพึงพอใจต่อสิ่งอ�านวยความสะดวกและการ ดังนั้น การเก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้มาเยือนตัวอย่าง
ให้บริการของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง บริเวณ จะเริ่มต้นจากเลขที่ตั้งต้น ได้แก่ ผู้มาเยือนล�าดับที่
หมู่เกาะรัง อยู่ในระดับน้อย 7 และเลขที่ล�าดับต่อไปให้น�าเลขที่ตั้งต้นบวกด้วย
ได้ค่าเฉลี่ย 2.61– 3.40 หมายถึงผู้มาเยือน เลขบอกช่วงการสุ่ม ได้แก่ 13 ท�าให้ได้ผู้มาเยือนที่
มีความพึงพอใจต่อสิ่งอ�านวยความสะดวกและการ เป็นกลุ่มตัวอย่างตามล�าดับดังนี้ คือ ล�าดับที่ 7, 20,
ให้บริการของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง บริเวณ 33, 50, 63, 80, ..... จนครบจ�านวนผู้มาเยือน 369 ราย
หมู่เกาะรัง อยู่ในระดับปานกลาง การวิเคราะห์ข้อมูล
ได้ค่าเฉลี่ย 3.41 – 4.20 หมายถึงผู้มาเยือน 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา
มีความพึงพอใจต่อสิ่งอ�านวยความสะดวกและการ (descriptive analysis) เป็นการน�าข้อมูลต่างๆ ที่
ให้บริการของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง บริเวณ ได้จากแบบสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ข้อมูลและแสดง
หมู่เกาะรัง อยู่ในระดับมาก ค่าสถิติอย่างง่าย ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ค่า
ได้ค่าเฉลี่ย 4.21– 5.00 หมายถึงผู้มาเยือน ร้อยละ (percent) ค่าสูงสุด (maximum) ค่าต�่าสุด
มีความพึงพอใจต่อสิ่งอ�านวยความสะดวกและการ (minimum) และค่าเฉลี่ย (mean)
ให้บริการของอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง บริเวณ 2. การวิเคราะห์เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผล