Page 21 -
P. 21

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                         บทที่ 2


                                           การทบทวนเอกสารและแนวคิดทางทฤษฎี




                     ผูวิจัยตรวจเอกสารแนวคิดที่เกี่ยวของกับการวิจัย ประกอบดวย 1) ระบบวนเกษตร 2) ความ

               หลากหลายทางชีวภาพกับความมั่นคงทางอาหาร 3) แนวคิดหวงโซคุณคา 4) โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับ

               ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล และ 5) บริบทของชุมชนตําบลแมทา ดังรายละเอียดตอไป


               2.1 ระบบวนเกษตร


                     ความหมายและคุณคาของระบบวนเกษตร


                     ระบบวนเกษตรไดรับการกลาวถึงอยางกวางขวางและเปนที่รูจักในสังคมไทยตั้งแตปลายทศวรรษ 2520
               เปนตนมาในฐานะทางเลือกและทางออกในการยังชีพของเกษตรกรรายยอย โดยหลักการใหมีความสมดุล

               ระหวางผูคน สังคม และสิ่งแวดลอมธรรมชาติ นับวาเปนทางเลือกที่สําคัญยิ่งแหงการพัฒนาแบบยั่งยืนใน

               สังคมไทย (มณฑล, 2541; วิบูลย และคณะ, 2537) มีผูใหคํานิยามระบบวนเกษตรไวมากมายและแตกตางกัน

               ไป ทั้งนี้ มณฑล (2541) ไดตั้งขอสังเกตและเห็นวาจากคํานิยามตางๆ สามารถสรุปลักษณะสําคัญของระบบวน

               เกษตรได 6 ประการดวยกัน  ไดแก ประการแรก วนเกษตรจะเกี่ยวของกับพืชไมนอยกวา 2 ชนิด และหนึ่งใน
               จํานวนนั้นตองเปนพืชที่ใหเนื้อไม (Woody perennial) ซึ่งอาจเปนไมปา ไมผล ไมไผ ปาลม เปนตน  ประการ

               ที่สอง วนเกษตรมีเปาหมายที่การผลิตอยางยั่งยืน และเปนที่ยอมรับได  ในทางปฏิบัติ ประการที่สาม การ

               จัดเรียงองคระหวางองคประกอบไมยืนตน และ องคประกอบอื่น จะอยูในหนวยที่ดินเดียวกัน (ระดับแปลง –

               ฟารม – ชุมชน – ประเทศ) โดยจัดเรียงไปตามพื้นที่ หรือจัดเรียงไปตามเวลา ประการที่สี่ เกี่ยวกับผลผลิตของ

               ระบบวนเกษตรซึ่งจะตองมากกวา 2 อยาง และวงจรของกิจกรรมวนเกษตรจะตองมากกวา 1 ปขึ้นไป ประการ

               ที่หา โครงสรางของระบบวนเกษตรจะซับซอนกวาการปลูกพืชเชิงเดี่ยว และประการที่หก การมีตนไมและพืช

               เกษตรอยูรวมกันอาจไมเรียกวาระบบวนเกษตรก็ได หากไมมีการจัดการใหเกิดความสัมพันธกันระหวาง
               องคประกอบเหลานั้น


                      สามารถกลาวไดวา ขอสังเกตดังกลาวขางตนเปนประโยชนอยางมากตอการจําแนกแยกแยะระบบวน

               เกษตรออกจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยว และทําใหเกิดความกระจางมากขึ้นวารูปแบบการใชประโยชนที่ดินเปน

               ระบบวนเกษตรหรือไม ทั้งนี้ มณฑล  (2541)  จะใหความสําคัญกับเปาหมายและหนาที่ของระบบ กลาวคือ

               ระบบวนเกษตรจะตองมีเปาหมายและทําหนาที่ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ในเวลาเดียวกันหรือ

               ตางชวงเวลากันก็ได แตตองอยูบนหนวยพื้นที่เดียวกัน



                                                           21
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26