Page 19 -
P. 19
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทางชุมชนไดรับมอบหนังสืออนุญาตใหเขาทําประโยชนในเขตปาสงวนแหงชาติ พื้นที่รวมประมาณ 7,000 ไร
ซึ่งเปนการจัดที่ดินทํากินตามนโยบายของ คทช. โดยใหเกษตรกรสามารถเขาใชประโยชนพื้นที่ได แตไมไดเปน
เจาของ ที่ดินที่รับมอบ เปนกรรมสิทธิ์รวมของชุมชน (แปลงรวม) ทั้งนี้ ชุมชนแมทาถือเปนพื้นที่นํารองภายใต
โครงการของ คทช. ที่ตองการแกไขปญหาความขัดแยงระหวางเจาหนาที่กับชุมชนในการใชประโยชนที่ดินอัน
เนื่องจากระบบกรรมสิทธิ์และแนวเขตปาที่ไมชัดเจน นอกจากนี้ โครงการจัดสรรที่ดินของรัฐบาลยังมีเปาหมาย
เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของราษฎรที่ยากไร แกไขปญหาความเหลื่อมล้ํา และตองการสรางความสมดุลของ
การใชประโยชนทรัพยากรดิน น้ํา ปาไม และอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพของทองถิ่น ในปจจุบัน
ราษฎรในตําบลแมทาสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรและปศุสัตว มีการปลูกขาวโพดฝกออนเพื่อสรางรายได
แตมักประสบปญหาการขาดแคลนน้ําสําหรับการทําการเกษตรเพราะอาศัยเพียงน้ําฝน อีกทั้ง เกษตรกรยัง
ประสบปญหาเรื่องตนทุนการปลูกพืชเชิงเดี่ยวที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทุกๆ ป ทําใหรายไดและเงินออมของ
ครัวเรือนลดลง
นอกเหนือจากการจัดที่ดินทํากินแลว รัฐบาลยังมีนโยบายที่จะสงเสริมใหเกษตรกรที่ไดรับการจัดสรร
ที่ดินทํากินมีการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืนและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมโดยการสงเสริมและสนับสนุนให
เกษตรกรหันมาประยุกตใชระบบวนเกษตร (Agro-forestry system) ทดแทนการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ทั้งนี้
ระบบวนเกษตรเปนรูปแบบการใชประโยชนที่ดินที่ผสานระหวางองคประกอบอยางนอย 2 อยางไมวาจะเปน
ไมยืนตนกับพืชเกษตรและ/หรือปศุสัตว โดยในองคประกอบนั้นตองมีไมยืนตนหรือพืชอายุยาว ( Woody
perennial) เปนองคประกอบหลัก ดวยคุณลักษณะดังกลาวจึงทําใหระบบวนเกษตรสามารถใหผลผลิตได
มากกวาหนึ่งอยางในระยะเวลามากกวาหนึ่งปขึ้นไป (วิพักตร, 2550) การปรับใชระบบวนเกษตรในภูมิทัศน
ของชุมชนทองถิ่นนอกจากจะชวยเพิ่มพื้นที่สีเขียวและความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชนทองถิ่นแลว
ระบบวนเกษตรยังเปนแหลงอาหาร ไมใชสอย และสรางรายไดของครัวเรือนในชนบท ในแงนี้ ระบบวนเกษตร
จึงเปนทางเลือกหนึ่งในการเพิ่มความมั่นคงสําหรับการดํารงชีพของคนทองถิ่น อยางไรก็ดี การยอมรับและการ
ตัดสินใจปรับใชระบบวนเกษตรของเกษตรกรมีเงื่อนไขปจจัยที่เกี่ยวของหลายประการ (สุรินทรและกิตติพล,
2560) และยังตองอาศัยกลไกเชิงสถาบันที่เหมาะสมเพื่อสรางแรงจูงใจใหกับเกษตรกรในการตัดสินใจ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใชประโยชนที่ดินของตนเองจากเกษตรกรรมเชิงเดี่ยวมาสูระบบวนเกษตร
งานวิจัยชิ้นนี้สนใจที่จะนําแนวคิดโซคุณคา ( Value chain) มาทําการวิเคราะหการจัดการะบบวน
เกษตรของเกษตรกรในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินในพื้นที่ตําบลแมทา อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม โดย
ผูวิจัยมองวา การวิเคราะหโซคุณคาการจัดการระบบวนเกษตรจะชวยใหเขาใจภาพรวมกิจกรรมการจัดการ
และผลลัพธของระบบการผลิตแบบวนเกษตร ตั้งแตการนําปจจัยการผลิตเขาสูการทําวนเกษตร จนถึงกิจกรรม
การขายผลผลิต และการจัดการเชิงพื้นที่ รวมถึงกิจกรรมสนับสนุนและกลไกตาง ๆ ที่ชวยสนับสนุนให
19