Page 23 -
P. 23
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รอดของเกษตรกรรายยอยจริงหรือ ? นอกจากนี้ งานวิจัยที่เกี่ยวของกับนโยบายและกลไกเชิงสถาบันในการ
สนับสนุนระบบวนเกษตรยังไมแพรหลาย ขาดความตอเนื่อง และยังไมครอบคลุมในหลายๆ บริบทของพื้นที่
ในชวงกลางทศวรรษ 2530 มีงานวิจัยบางชิ้นที่พยายามศึกษาถึงปญหาและโอกาสการใชระบบวนเกษตรเพื่อ
ฟนฟูพื้นที่ลุมน้ําในภาคเหนือ โดยพฤกษและสุพร (2536) ซึ่งทําการศึกษาเฉพาะในพื้นที่ลุมน้ําแมเลาะ จังหวัด
เชียงใหม ในงานวิจัยชิ้นนี้ คณะผูวิจัยเห็นวา ระบบวนเกษตรสามารถเปนทางเลือกใหกับเกษตรกรที่กําลัง
เผชิญกับวิกฤตการณขาดแคลนขาวบริโภค และการระบาดของโรคและศัตรูพืชโดยในทัศนะของคณะวิจัย
ปญหาเรื่องอาหารและเศรษฐกิจครัวเรือนถือเปนปจจัยขับเคลื่อนและเปนแรงจูงใจใหเกษตรกรหันไปทํา
กิจกรรมฟนฟูสภาพปาของชุมชน อยางไรก็ตาม สถานการณและบริบทของงานวิจัยชิ้นนี้อาจแตกตางโดย
สิ้นเชิงกับปญหาและสถานการณที่เกษตรกรรายยอยและชุมชนทองถิ่นกําลังเผชิญอยูในปจจุบัน เชน กรณี
ชุมชนแมทาซึ่งเปนพื้นที่ศึกษาของโครงการวิจัยในครั้งนี้ และงานวิจัยที่ผานมา ยังไมไดกลาวถึงทางเลือกทาง
นโยบายและกลไกเชิงสถาบันที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนระบบวนเกษตรในระดับทองถิ่น
ระบบวนเกษตร ความหลากหลายทางชีวภาพ และความมั่นทางอาหาร
มีนักวิชาการจากหลายสาขาทั้งทางสังคมศาสตรและวิทยาศาสตรชี้ใหเห็นวาความหลากหลายทาง
ชีวภาพมีคุณคาและความสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษย เชน นิวัติ เรืองพานิช (2556) ซึ่งมองวาความ
หลากหลายทางชีวภาพ วาเปนความผันแปรแตกตางกันของสิ่งมีชีวิตในทุกดาน ทั้งความผันแปรแตกตางใน
ระดับชนิดพันธุ ระวางชนิดพันธุ และระบบนิเวศ ซึ่งประกอบดวยสังคมชีวิตและถิ่นที่อยูอาศัย ตลอดจน
สภาพแวดลอมที่สิ่งมีชีวิตเหลานั้นอาศัยอยู ดังนั้น หากความหลากหลายของระบบนิเวศมีมาก ความ
หลากหลายของชนิดของสิ่งมีชีวิตก็จะมีมากมายตามความหลากหลายของระบบนิเวศดวย ขณะเดียวกันหากมี
ความหลากหลายในชนิดของสิ่งมีชีวิตสูง ความหลากหลายทางพันธุกรรมก็จะมีสูงตามไปดวย ความ
หลากหลายทางชีวภาพจึงเปนผลผลิตจากกระบวนการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นควบคูกับการ
เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม ซึ่งมีคุณคาและสําคัญมากตอการดํารงชีวิตของมนุษย หากที่ใดมีความ
หลากหลายทางชีวภาพสูง ที่นั่นยอมมีความสลับซับซอนและมีเสถียรภาพสูงไปดวย (นิวัต, 2556)
อยางไรก็ตาม เปนที่ยอมรับกันอยางกวางขวางถึงการสูญหายของความหลากหลายทางชีวภาพทั้งใน
ระดับทองถิ่น ประเทศ และระดับโลก โดยในกรณีของประเทศไทย เสนห (2548) มองวา ความหลากหลาย
ทางชีวภาพไดสูญหายไปอยางรวดเร็วนับตั้งแตเริ่มตนที่รัฐไดสงเสริมใหเกิดการขยายตัวในการปลูกพืชเพื่อการ
สงออก และเขาไปรวมเปนสวนหนึ่งของกระแสปฏิวัติเขียวที่มีการใชพันธุพืชใหมๆทดแทนพันธุพืชพื้นเมืองเปน
ตนมา ความสูญเสียของทรัพยากรและการลมสลายของชุมชนทองถิ่นที่เกี่ยวกับอาหารและยารักษาโรคได
เกิดขึ้นอยางตอเนื่องและรุนแรงมากขึ้น การตัดไมทําลายปาเปนสาเหตุที่สําคัญที่สุดในการทําลายทรัพยากร
พันธุกรรมในสภาพปา ยากที่จะฟนความอุดมสมบูรณใหกลับมาคงเดิมได พันธุไมถูกมองวามีคาเปนเพียงแค
23