Page 25 -
P. 25

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               หลายชนิดมีรากเปนฝอยยาว ชวยยึดดินใหแนนปองกันการทรุดตัวของชั้นดิน และยังเปนที่ตองการของตลาด

               ชวยทํารายไดใหกับชาวบานและเปนรายไดเสริมใหกับคนไดอีกมากมาย (ยศ, 2542)



               2.2 แนวคิดโซคุณคา

                     แนวคิดโซคุณคา หรือ Value chain ถูกพัฒนาขึ้นในฐานะเครื่องมือในการวิเคราะหระบบการผลิตโดย

               Michael E. Porter  ในป ค.ศ. 1985 ที่แสดงใหเห็นถึงองคประกอบอนุกรมของกิจกรรมตางๆ ในโซอุปทาน

               (Supply Chain)  ที่เพิ่มคุณคาใหกับตัวสินคา ผลิตภัณฑ  (Products)  บริการ (Service)  ที่ตองการขาย โดย

               การเพิ่มคุณคาจากกิจกรรมการแปรสภาพวัตถุดิบเพื่อ   ปอนเขาสูขั้นตอนการผลิต และขายในราคาที่สูงกวา

               ตนทุนของวัตถุดิบ   แนวคิดนี้แบงกิจกรรมภายในองคกร เปน  2  กิจกรรม คือ กิจกรรมหลัก ( Primary
               Activities)  และ  กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities)  โดยกิจกรรมทุกประเภทมีสวนในการชวยเพิ่ม

               คุณคาใหกับสินคาหรือ บริการของบริษัท


                     การวิเคราะหโซคุณคาสําหรับองคกรธุรกิจ สามารถแบงออกเปน 3 ขั้นตอน ดังตอไปนี้


                     ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะหกิจกรรม จะมีการระดมความคิดเกี่ยวกับกิจกรรมที่องคกรหรือพนักงานหรือ

               บริษัทจะตองดําเนินการเพื่อเพิ่มประสบการณที่ดีใหกับลูกคา กระบวนการคิดนี้อยูในสวนของกระบวนการ

               กิจกรรมทางธุรกิจที่องคกรใชเพื่อบริการลูกคา รวมทั้งการตลาดของผลิตภัณฑหรือบริการ

                     ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะหคุณคา ขั้นตอนนี้จะเปนการวิเคราะหกิจกรรมที่องคกรไดระบุในแตละรายการ

               "ปจจัยที่คุมคา" สิ่งที่มีคุณคาตอลูกคาขององคกรในแตละกิจกรรมที่จะดําเนินการ


                     ขั้นตอนที่ 3 การเปลี่ยนแปลงการประเมินและวางแผนสําหรับการดําเนินการ หลังจากที่องคกรไดทํา

               การ วางแผนตามกระบวนการทํางานตั้งแตขั้นที่1 และขั้นที่ 2 เสร็จแลว องคกรจะไดแนวทางที่สามารถเพิ่มคา

               หรือ มูลคาเพิ่มจากการสงมอบใหกับลูกคา


                     ในชวงเวลาที่ผานมามีงานวิจัยหลายชิ้นที่ไดประยุกตแนวคิดหวงโซคุณคามาทําการศึกษาและวิเคราะห
               ระบบการผลิตตาง ๆ เชน งานของพลสราญ (2559) ไดประยุกตทฤษฎีหวงโซคุณคาในการวิเคราะหระบบการ

               ผลิตมังคุดของไทยโดยแบงกิจกรรมของการผลิตมังคุดออกเปนกิจกรรมหลัก (  primary activities) และ

               กิจกรรมสนับสนุน (support activities) ดังนี้


                     กิจกรรมหลักของโซคุณคา ประกอบดวย 5 กิจกรรมยอย ดังตอไปนี้









                                                           25
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30