Page 24 -
P. 24

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               เนื้อไมเทานั้นเอง การสงเสริมพืชพาณิชยและการขยายพื้นที่เกษตรกรรมก็เปนสาเหตุในการทําลายทรัพยากร

               ชีวภาพ ซึ่งเปนแหลงฐานทรัพยากรพันธุกรรมทําใหชนิดของพืชและสัตวมีปริมาณลดนอยลงหรือสูญหายไปใน

               ที่สุด การปฏิวัติเขียวกับการสูญหายไปของพันธุพืชพื้นเมือง โดยระบบเกษตรกรรมในปจจุบันมีการปรับปรุง

               พัฒนาพันธุพืชใหมๆที่ใหผลผลิตสูง ซึ่งตองใชสารเคมีในการกําจัดสัตรูพืชในปริมาณมาก ใชเครื่องจักรกลและ
               ปลูกพืชเพียงไมกี่ชนิดบนพื้นที่กวางใหญ

                     นิวัต (2556) มีมุมมองที่สอดคลองกับเสนห โดยนิวัติมองวาผลกระทบของความหลากหลายทางชีวภาพ

               สงผลกระทบตอความมั่นคงทางอาหารของมนุษย เพราะการสูญเสียนั้นคือ ดิน น้ํา ปาและทรัพยากรชีวภาพ

               เพื่อการผลิตอาหาร อาหารทั้งหมดที่มนุษยบริโภคก็ไดมาจากพืชและสัตวในระบบธรรมชาติ หรือมนุษยนํามา

               เพาะเลี้ยงในดานเกษตร พืชเกษตรและสัตวเลี้ยงตางๆ ก็ถือกําเนินมาจากพืชปาและสัตวปา ที่ไดสืบทอดสาย
               พันธุและผานการปรับปรุงบํารุงพันธุมา ทําใหไดสายพันธุใหมที่ใหผลผลิตสูงสามารถตานทานโรคแมลงและ

               สิ่งแวดลอม มีคุณภาพตามที่เราตองการได วัตถุดิบตางๆ ที่ใชในอุตสาหกรรมเกษตรก็ไดจากสิ่งมีชีวิตที่อยูใน

               ธรรมชาติหรือแมแตการพักผอนหยอนใจโดยการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ก็เปนผลกระทบทางออมจากการอนุรักษ

               ความหลากหลายทางชีวภาพ ยิ่งถาหากมองความหลากหลายของระบบนิเวศนอกเหนือจากความหลากหลาย

               ในดานชนิดพันธุและทางพันธุกรรม จะเห็นวาความหลากหลายทางชีวภาพจะชวยรักษาสภาวะสมดุลของ
               ธรรมชาติไดอยางตอเนื่อง (นิวัต, 2556)

                     มีงานศึกษาในระดับทองถิ่นหลายชิ้นที่ชี้ใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางความหลากหลายทางชีวภาพกับ

               การดํารงชีพของคนทองถิ่นและการพัฒนาอยางยั่งยืน เชนงานของยศ ( 2542) กลาวถึงประโยชนของความ

               หลากหลาย โดยใหความสนใจกับพืชผักพื้นบาน วาเปนพืชผักที่หางาย มีราคาถูกและเหมาะสมกับ

               สภาพแวดลอมตามฤดูกาล ผักพื้นบานไดรับการพิสูจนแลววามีวิตามิน เกลือแร สารอาหารและกากใย

               ธรรมชาติที่เปนประโยชนตอรางกาย ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยไดใชประโยชนจากพืชผักพื้นบานที่

               ขึ้นอยูตามธรรมชาติ ตั้งแตสวนหลังบาน มีพืชผักที่ขึ้นตามฤดูกาล ตั้งแตเห็ด หนอไม พืชลมลุก ดอกไม ใบและ
               ดอกของไมพุม ไปจนถึงยอดไมหลากหลายชนิด ระบบนิเวศเชื่อมโยงวิถีชีวิตและระบบการผลิตของผูคนใน

               ชนบท ซึ่งเปนเสมือนดั่งตลาดสดที่ชาวบานสามารถเลือกเก็บอาหารประจําวันไดตามฤดูกาลยิ่งไปกวานั้น วงจร

               อาหารที่ทํามาจากพืชผักพื้นบานยังสอดคลองกับสุขภาพอนามัยของชาวบาน ถึงคุณคาดานอาหารและยา วา

               จะบริโภคสวนใดของพืช เชน เมล็ด ใบ ผล ดอก ราก หรือยอดออน ขึ้นอยูกับชนิดของผัก การนํามาปรุงกอน

               หรือนํามารับประทานสด ผักบางชนิดนํามาแกงหรือคั่ว กลิ่นและรสของผักจะแตกตางกันออกไป บางชนิดอาจ
               ใชเปนทั้งอาหารและยาในตัวเอง ผักพื้นบานถูกนํามาใชประโยชนในดานของเครื่องใชสอยในชีวิตประจําวัน ถูก

               นํามาดัดแปลงเพื่อใชเปนอุปกรณในการหอ รัด มัด รอยสินคาและอาหารตางๆเพื่อสะดวกในการเก็บรักษาและ

               ขนยาย พืชผักพื้นบานนอกจากจะเปนอาหารของคนแลวยังเปนอาหารของสัตวเลี้ยง เชน กลวย บอน พืชผัก





                                                           24
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29