Page 22 -
P. 22
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เกี่ยวกับรูปแบบของระบบวนเกษตร พบวา มีการจําแนกระบบวนเกษตรคลายกันโดยสวนใหญจะทํา
การจําแนกโดยพิจารณาจากสวนผสมขององคประกอบที่พบอยูในระบบวนเกษตร เชน มณฑล (2541) จําแนก
ระบบวนเกษตรออกเปน 4 ประเภท กลาวคือ หากมีการใชที่ดินปลูกพืชผสมผสานระหวางพืชเกษตรและไมยืน
ตน จะเรียกวา ระบบเกษตรปาไม ( Agrisilvicutural system) ซึ่งจะเนนผลผลิตดานการเกษตรเปนหลัก หาก
เนนผลผลิตปาไมเปนหลัก จะเรียกวา ระบบปาไมเกษตร ( Silvicagriculture system) สําหรับระบบที่สามจะ
เรียกวา ระบบปาไมปศุสัตว (Silvopastoral system) เปนการใชประโยชนที่ดินผสมผสานกันระหวางการปลูก
ไมยืนตนควบคูไปกับการเลี้ยงสัตว และระบบสุดทาย เรียกวา ระบบเกษตรปาไมปศุสัตว ( Agrosilvopastoral
system) ซึ่งเปนการใชประโยชนที่ดินแบบผสมผสานระหวางการปลูกพืชเกษตร ไมยืนตน และปศุสัตว
(มณฑล, 2541) ทั้งนี้ ระบบวนเกษตรแตละรูปแบบอาจมีความเหมาะสมที่แตกตางกันไปในแตละพื้นที่ซึ่ง
จําเปนตองทําการศึกษาถึงบริบทของพื้นที่แตละแหงที่เพื่อกําหนดรูปแบบวนเกษตรใหสอดคลองกับบริบทของ
พื้นที่นั้น เชน งานวิจัยของบุญวงศและคณะ (2532) ไดทําการศึกษารูปแบบของระบบวนเกษตรสําหรับจังหวัด
ลําปาง ซึ่งผลการศึกษา แบงรูปแบบวนเกษตรออกถึง 13 รูปแบบ โดยจําแนกตามระดับการยอมรับของ
ราษฎรได 3 กลุม คือ กลุมที่ราษฎรยอมรับไดในระดับสูง กลุมที่ยอมรับไดในระดับปานกลาง และกลุมที่
ราษฎรยอมรับไดในระดับต่ํา
มีงานวิจัยหลายชิ้นที่ทําการศึกษาเพื่อชี้ใหเห็นถึงศักยภาพโดยเฉพาะอยางยิ่งประสิทธิภาพของระบบวน
เกษตรในดานเศรษฐกิจโดยพยายามชี้ใหเห็นถึงปริมาณผลผลิตทั้งดานพืช ปาไม และปศุสัตว เชน สัญญาและ
อุทัย (2536) ทําการศึกษาผลผลิตของมันสําประหลังและถั่วลิสงที่ปลูกในระบบวนเกษตร ในขณะที่พงษศักดิ์
และคณะ (2536) ทําการศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตสําหรับการใชสอยของไมยูคาลิปตัส
คามาลดูเลนซีส ที่ปลูกในระบบวนเกษตรบนที่ดินเสื่อมโทรม สามารถกลาวไดวา งานศึกษาเกี่ยวกับบทบาท
ของระบบวนเกษตรในชวงเวลาที่ผานมาจะเนนศึกษาเฉพาะดาน แยกสวน ขึ้นอยูกับความรูและความ
เชี่ยวชาญของผูศึกษา อยางไรก็ตาม งานศึกษาวิจัยที่แสดงใหเห็นถึงศักยภาพของระบบวนเกษตรแบบองครวม
และเชื่อมโยงกับการพัฒนาทองถิ่น เชน บทบาทของระบบวนเกษตรตอการฟนฟูความหลากหลายทางชีวภาพ
ตอการปรับตัวของเกษตรกรตามการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และบทบาทในดานการบรรเทาความ
ยากจนรวมถึงประเด็นเรื่องความมั่นคงทางดานอาหาร ยังไมแพรหลายมากนักในสังคมไทย
ถึงแมวาระบบวนเกษตรจะไดรับการยอมรับมากขึ้นวาเปนทางเลือกและทางรอดของเกษตรกรรายยอย
แตการปรับใชระบบวนเกษตรในระดับพื้นที่ยังคงอยูในวงจํากัด การปรับใชระบบวนเกษตรของเกษตรกรราย
ยอยในระยะที่ผานมาขึ้นอยูกับบทเรียนของเกษตรกรแตละรายซึ่งอาจประสบความลมเหลวจากการทําการ
เพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว เชน ผูใหญวิบูลย เข็มเฉลิม แตการทําระบบวนเกษตรยังไมเปนปรากฏการณใหมของ
สังคมไทยแตอยางใด จึงทําใหหลายคนมักเกิดขอสงสัยและคําถามขึ้นวาระบบวนเกษตรเปนทางเลือกและทาง
22