Page 16 -
P. 16

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                         บทที่ 1


                                                          บทนํา




               1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา


                     ตนไมและปาเปนฐานทรัพยากรที่สําคัญตอการดํารงชีพของคนทองถิ่นทั้งในฐานะของแหลงอาหาร น้ํา

               สําหรับการบริโภคและการเกษตร แหลงเชื้อเพลิง เครื่องนุงหม และบริการจากระบบนิเวศ มีรายงานการศึกษา

               พบวา ประชากรโลกกวา 1.3 พันลานคน หรือประมาณรอยละ 18 ยังคงพึ่งพิงและอาศัยทรัพยากรปาไมเพื่อ

               การดํารงชีพ สําหรับในประเทศไทยนั้นมีการคาดการณกันวาประชากรกวา 20  – 25 ลานคน ที่ยังมีวิถีชีวิต

               แนบแนนกับฐานทรัพยากรปาไม (สุรินทร, 2558 ; FAO, 2014; Fisher et al., 1997) และในแงของบริการ
               ทางระบบนิเวศนั้น ปาไมจะชวยปองกันภัยพิบัติตางๆ ทางธรรมชาติ ตนไมและรากไมชวยปองกันการชะลาง

               หนาดินและการพังทลายของดิน อีกทั้ง ปาไมชวยลดการไหลบาของน้ําทําใหน้ําซึมลงและเก็บไวในดินไดอัน

               เปนสวนสําคัญของการลดสภาวะน้ําทวม นอกจากนี้ ระบบนิเวศปาไมยังเปนแหลงรวมความหลากหลายทาง

               ชีวภาพทั้งพืชและสัตวซึ่งเปนทุนทางธรรมชาติที่สําคัญตอการพัฒนาและการดํารงชีพของมนุษย จากขอมูลการ

               สํารวจความหลากชนิดของพืชและสัตวในปาธรรมชาติของไทยพบวาประเทศไทยเปนแหลงที่มีความ
               หลากหลายอยูในลําดับสูงมากแหงหนึ่งของโลก ประเทศไทยซึ่งมีขนาดเพียง รอยละ 0.36 ของพื้นที่บกของ

               โลก แตปรากฏวามีความหลากหลายของสัตวมีกระดูกสันหลังและพืชพวกมีทอลําเลียงสูงตั้งแต รอยละ 2.6  –

               10.1 ของชนิดที่มีในโลก (มูลนิธิสืบนาคะเสถียร, 2560) ทั้งนี้ ความหลากหลายของพืชและสัตวจะอํานวย

               ประโยชนใหกับคนทองถิ่นในฐานะของ “ขายความปลอดภัย” ดานอาหารและการสรางรายไดในยามที่ตอง

               เผชิญกับความผันแปรของสภาพอากาศ เชน ฝนแลง น้ําทวม หรือฝนทิ้งชวง ทําใหระบบการเพาะปลูกพืชและ

               การเกษตรเสียหายและไมสามารถใหผลผลิตได คนทองถิ่นก็จะอาศัยของปาและความหลากหลายในระบบ

               นิเวศปาไมสําหรับการดํารงชีพ

                     นอกจากพื้นที่ปาธรรมชาติแลว ไมยืนตนนอกเขตปาโดยเฉพาะตนไมในพื้นที่เกษตรกรรมมีบทบาทและ

               ความสําคัญตอการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพและเพิ่มพูนความมั่นคงทางอาหารของชุมชน เนื่องจาก

               เกษตรกรเจาของที่ดินสามารถนําไมมาใชประโยชนไดโดยไมขัดกับระเบียบและกฎหมายปาไม โดยตนไมนอก

               เขตปามีคุณคาและประโยชนในหลายๆ ดานทั้งในดานไมใชสอย พืชอาหารคนและสัตว ประโยชนทางดาน

               พลังงาน รวมถึงคุณคาทางดานวัฒนธรรม การใหรมเงา และสิ่งแวดลอม เชน ไมในนาซึ่งชาวบานมักจะเหลือไว

               เพื่อเปนรมเงาในชวงทํานา เจาของที่ดินอาจมีการลิดกิ่งเพื่อนํามาใชเปนไมฟนและถาน สวนไมที่มีคา เชน
               พลวง ประดู ยางกราด อาจมีการตัดและนําไปใชสอยสําหรับการกอสรางบานเรือน



                                                           16
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21