Page 9 -
P. 9

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                        บทคัดยอ

                       ปญหาการทําการเกษตรและหมอกควันในพื้นที่สูงเปนปญหาซ้ําซากมักเกิดจากการเผาเศษซากวัสดุ

               ทางการเกษตร การศึกษามีวัตถุประสงค 4 ขอ คือ 1) เพื่อประเมินประสิทธิภาพการใชประโยชนที่ดินในการ

               ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ และเกษตรผสมผสาน 2) เพื่อประเมินผลผลิตและการสูญเสียธาตุ

               อาหาร (ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส) ภายใตสถานการณสภาพภูมิอากาศในอนาคต ดวยแบบจําลอง EPIC

               (Environmental Policy Integrated Climate) 3) เพื่อประเมินปริมาณน้ําทาและตะกอนของแตละรูปแบบ

               การใชประโยชนที่ดินภายใตสถานการณสภาพภูมิอากาศในอนาคต ดวยแบบจําลอง SWAT (Soil and Water

               Assessment Tool) และ 4) เพื่อวิเคราะหนโยบายของรัฐบาลถึงผลกระทบของแตละนโยบายตอเกษตรกร


               พื้นที่ศึกษาคือ ลุมน้ําแมแจม จังหวัดเชียงใหม กลุมเปาหมาย ประกอบดวย เกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
               ขาวโพดเมล็ดพันธุ และการเกษตรแบบผสมผสาน โดยเกษตรผสมผสานในการศึกษานี้ หมายถึงระบบ


               การเกษตรที่มีการเพาะปลูกพืชมากกวา 2 ชนิดขึ้นไปอยูในพื้นที่เดียวกันโดยเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญและ
               เกษตรกรนิยมปลูกในลุมน้ําแมแจม แบบจําลอง EPIC  ใชเพื่อประเมินผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเมล็ด


               พันธุ และเกษตรผสมผสาน และการสูญเสียธาตุอาหาร (ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส) ภายใตสถานการณสภาพ
               ภูมิอากาศในอนาคต ตนทุน ผลตอบแทน และการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาเศษซากวัสดุทาง


               การเกษตรทําการคํานวณและเปรียบเทียบในแตละการใชประโยชนที่ดิน การประเมินปริมาณน้ําทาและ
               ตะกอน ของแตละรูปแบบการใชประโยชนที่ดิน ภายใตสถานการณสภาพภูมิอากาศในอนาคตประเมินดวย


               แบบจําลอง SWAT  ภายใตการจําลอง 4 สถานการณ คือ ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ เทาเดิม

               (50%) ขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ ลดลง (0%) ขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ เพิ่มขึ้น (80%)

               และ ปลูกไมผลยืนตน 53.94% ปาไม 28.56% และพืชอื่นๆ17.7%


                       ผลการศึกษาสภาพเศรษฐกิจสังคมกรณีการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเมล็ดพันธุ และ เกษตร
               ผสมผสาน พบวาพื้นที่เกษตรกรรมสวนมากอยูนอกพื้นที่ชลประทาน จํานวนครัวเรือนระหวาง 2-5 คนและ

               มากที่สุด 6-8 คน ชวงอายุที่พบมากที่สุด 31-50 ป ประชากรจบการศึกษาระดับประถมศึกษาสวนมาก

               ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ประชากรมีการยายถิ่นไมมาก คาใชจายในกระบวนการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
               ขาวโพดเมล็ดพันธุ และเกษตรผสมผสาน ประกอบดวยคาเชาที่ดิน คาเตรียมดิน คาจัดการน้ํา ราคาเมล็ดพันธุ

               คาจางปลูก คาปุย คากําจัดวัชพืช คาเก็บเกี่ยวผลผลิต ตนทุนของการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยูระหวาง 1,987-

               4,071 บาท/ไร ผลผลิตเฉลี่ยระหวาง 876-2,083 กก./ไร ตนทุนขาวโพดเมล็ดพันธุอยูระหวาง 1,071-3,520
               บาท/ไร ผลผลิตเฉลี่ย 800-1,852 กก./ไร  ตนทุนเกษตรผสมผสานอยูระหวาง 5,084-30,564 บาท/ไร ผลผลิต

               เฉลี่ย 670-8,350 กก./ไร และเมื่อเปรียบเทียบ B/C ratio พบวาการปลูกเกษตรผสมผสานมีคาเทากับ 2.04
               ซึ่งมีความคุมทุนมากกวาการปลูกขาวโพดเมล็ดพันธุ (1.94) และขาวโพดเลี้ยงสัตว (1.74)



                                                                                                        vii
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14