Page 11 -
P. 11

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               ของพื้นที่ทั้งหมดภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแบบ A2 และ B2 ดวยแบบจําลอง

               SWAT ผลการศึกษาพบวาองคประกอบของสมดุลน้ําซึ่งไดมาจากผลรวมของคาเฉลี่ยในแตละองคประกอบ

               น้ําทาผิวดิน + น้ําจากการไหลดานขาง + น้ําไหลซึมลงสูน้ําบาดาล – การสูญเสียจากการไหลซึม พบวาปริมาณ

               น้ําทาเฉลี่ยทั้งหมดของสถานการณการลดการปลูกขาวโพด (ขาวโพดลดลง 0%) และการปลูกไมยืนตน

               53.94% ปาไม 28.56% และพืชอื่นๆ 17.7% ใหปริมาณน้ําทาเฉลี่ยในทุกๆ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศต่ํา

               กวาสถานการณที่มีการปลูกขาวโพดเทาเดิม (50%) และการปลูกขาวโพดเพิ่มขึ้น (80%)  การลดการปลูก

               ขาวโพด (ขาวโพดลดลง 0%) และการปลูกไมยืนตน 53.94% ปาไม 28.56% และพืชอื่นๆ 17.7%  พบวาการ

               สูญเสียจากการคายระเหยสูงขึ้น การไหลใตผิวดินจากดานขางมากขึ้น และน้ําไหลซึมลงสูน้ําบาดาลมากขึ้นกวา

               สถานการณที่มีการปลูกขาวโพดเทาเดิม (50%) และการปลูกขาวโพดเพิ่มขึ้น (80%) เนื่องจากสถานการณที่

               พื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้น หรือไมยืนตน ปาไมและพืชอื่นๆ เหลานี้คายน้ําในชวงกลางวันที่สูงกวาสถานการณพื้นที่ที่

               ปลูกขาวโพดเทาเดิมหรือเพิ่มพื้นที่เปน 80% และตนไมใหญชวยชะลอการไหลของน้ําจึงทําใหเกิดการไหลลง

               ดานขาง และน้ําไหลสูน้ําบาดาลสูงขึ้น ผลการจําลองปริมาณตะกอนในสถานการณการลดจํานวนพื้นที่ปลูก

               ขาวเลี้ยงสัตว และสถานการณการปลูกไมยืนตน 53.94% ปาไม 28.56 % และพืชอื่นๆ 17.7% ภายใต

               สถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศแบบ A2 และ B2 ใหปริมาณตะกอนต่ําที่สุดแสดงใหเห็นวาเมื่อพื้นที่

               ปาไมลดลงและพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวเพิ่มมากขึ้นปริมาณตะกอนเพิ่มขึ้นเชนกัน


                       ปญหาในพื้นที่ศึกษาพบวา 1. แหลงน้ํา ความตองการเรงดวนคือ ฝาย อางเก็บน้ําในลําหวยสาขา

               ประปาหมูบาน คลองสงน้ํา ฝายน้ําลน ประปาภูเขา ปรับปรุงอางเก็บน้ํา ขุดสระน้ํา สรางฝาย ฝายตนน้ํา บอ


               บาดาล และถังเก็บน้ํา ทั้งเพื่อการเกษตรในชวงฤดูแลงและน้ําเพื่ออุปโภคบริโภค 2. การจัดการเรื่องที่ดิน
               นโยบายที่ดินการแกไขปญหาที่ดินทํากินอยูในปจจุบัน ทุกฝายตองรวมมือกันอยางจริงจังในการแกไขปญหา


               เรื่องที่ดินทํากินในสังคมไทยอยางแทจริง เพราะยังไมมีนโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอยางเปนระบบ
               เพื่อการกระจายการถือครองที่ดินอยางเปนธรรม โดยการใชมาตรการหลายมาตรการพรอมกันในการแกไข


               ปญหาโครงสรางการถือครองที่ดินที่เปนอยู คือการปฏิรูปที่ดินโดยชุมชนเพื่อใหชุมชนมีสวนรวมในการดูแล
               จัดการทรัพยากรที่ดิน การจัดตั้งธนาคารเพื่อการปฏิรูปที่ดิน การจํากัดการถือครองที่ดิน รวมถึงการคุมครอง


               พื้นที่เพื่อเกษตรกรรมซึ่งเปนพื้นฐานที่สําคัญในการแกไขปญหาเรื่องที่ดินทํากินใหกับคนยากจนไดอยางยั่งยืน
               3. การปลูกพืชที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศรวมทั้งตลาดที่จะรองรับผลผลิต ขอเสนอแนะ


               ทางดานนโยบายที่เกี่ยวของคือ 1) นโยบายและแผนดานปาไมและการจัดการเรื่องที่ดิน ควรมุงเนนการอนุรักษ
               และการใชประโยชนจากทรัพยากรปาไมและความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน รักษาความสมดุลของ


               ระบบนิเวศ โดยแนวทางในการปฏิรูประบบการจัดการทรัพยากร ทั้งในระดับพื้นที่และระดับนโยบายเพื่อให


                                                                                                        ix
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16