Page 6 -
P. 6

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               scenarios ทั้งสองชวงเวลาสงผลกระทบในเชิงบวกตอปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ

               ในทางตรงกันขามการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายใต B2 scenarios ทั้งสองชวงเวลาสงผลกระทบในเชิง

               ลบตอปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ ในขณะที่ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

               ทั้ง A2 และ B2 และทั้งสองชวงเวลาสงกระทบในเชิงบวกตอปริมาณผลผลิตของมันฝรั่ง ในตําบลแมศึก และ

               ถั่วเหลือง ในตําบลบานทับ นอกจากนี้ จากผลการประเมินดวยแบบจําลอง EPIC แสดงใหเห็นวา ภายใตการ

               เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศแบบ B2 สงผลใหผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ ลดลง ดวยเหตุนี้เพื่อ

               คนหาแนวทางเพื่อบรรเทาผลกระทบโดยการเปลี่ยนปฎิทินการเพาะปลูก โดยเกษตรกรควรเริ่มเตรียมแปลง

               ตั้งแตเดือนพฤษภาคม และปลูกใหเสร็จสิ้นภายในเดือนมิถุนายน โดยใสปุยในปริมาณที่เทาเดิมซึ่งสงผลให

               ปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุเพิ่มขึ้น ประมาณ 14-16% ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพ

               อากาศแบบ B2:2016-2031 และเพิ่มขึ้น ประมาณ 2-17% ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศแบบ B2:

               2032-2046 การสูญเสียธาตุอาหารในดิน พบวา ปริมาณการสูญเสียไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในพื้นที่เกษตร

               ผสมผสานนอยกวาพื้นที่ที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ ทั้งในสถานการณปจจุบันและภายใต

               สถานการณการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศทั้ง 2 scenarios และ 2 ชวงเวลา


                       ปริมาณของการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาซากวัสดุทางการเกษตร ทั้งขาวโพดเลี้ยงสัตว

               และขาวโพดเมล็ดพันธุ เรียงลําดับจากมากที่สุดไปยังนอยที่สุดได ดังตอไปนี้ CO 2 > CO > PM10 > PM2.5 >

               NMVOCs > CH 4 > NOx > BC > SOx > N 2O โดยเฉลี่ย 1580.69, 40.48, 6.47, 6.26, 4.70, 2.82, 1.88,

               0.78, 0.21 และ 0.07 กก./ไร/ป ตามลําดับ ในขณะที่ปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาซาก


               ขาวโพดเมล็ดพันธุ โดยเฉลี่ยเทากับ 2078.26, 53.23, 8.51, 8.23, 6.17, 3.70, 2.47, 1.03, 0.27 และ 0.10
               กก./ไร/ป ตามลําดับ พบวาปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาซากขาวโพดเมล็ดพันธุจะสูง


               กวาเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวรอยละ 23.94 สําหรับปริมาณของการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจาก
               การเผาซากพืชทางการเกษตรของการทําการเกษตรผสมผสาน เรียงลําดับจากมากที่สุดไปยังนอยที่สุดได


               ดังตอไปนี้ CO 2 > CO > PM10 > PM2.5 > NMVOCs > CH 4 > NOx > BC > SOx > N 2O โดยเฉลี่ย คือ
               1021.34, 26.16, 4.18, 4.04, 3.03, 1.82, 1.21, 0.51, 0.13 และ 0.05 กก./ไร/ป ตามลําดับ หากพิจารณา


               ปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกรวมจากการเผาซากวัสดุทางการเกษตรรายตําบลจากสูงไปต่ําคือ ปาง
               หินฝน>บานทับ> แมนาจร> แมศึก> ทาผา> กองแขก>แมแดด> แจมหลวง>ชางเคิ่ง และไมพบการ


               ปลดปลอยกาซเรือนกระจกหลังการเก็บเกี่ยวที่บานจันทร และจํานวนสมาชิกในครัวเรือนมีอิทธิพลในเชิงลบตอ
               ปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจก และเปนเพียงปจจัยเดียวที่มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ


               จากการศึกษาถึงผลกระทบตอสมดุลน้ํา ปริมาณน้ําทาและปริมาณตะกอนภายใตสถานการณการ


                                                                                                        iv
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11