Page 7 -
P. 7

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               เปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินที่แตกตางกันโดยใหความสําคัญที่การเพิ่ม / ลดลงของพื้นที่การปลูก

               ขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยตั้งสมมุติฐาน 4 แบบ คือใหมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่การปลูกขาวโพดเทากับ รอยละ 0

               รอยละ 50 รอยละ 80 และ ปลูกไมยืนตน 53.94% ปาไม 28.56% และพืชอื่นๆ 17.7% ของพื้นที่ทั้งหมด

               ภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแบบ A2 และ B2 ดวยแบบจําลอง SWAT ผลการศึกษา

               พบวาองคประกอบของสมดุลน้ําซึ่งไดมาจากผลรวมของคาเฉลี่ยในแตละองคประกอบ น้ําทาผิวดิน + น้ําจาก

               การไหลดานขาง + น้ําไหลซึมลงสูน้ําบาดาล – การสูญเสียจากการไหลซึม โดยพบวาปริมาณน้ําทาเฉลี่ย

               ทั้งหมดของสถานการณการลดการปลูกขาวโพด (ขาวโพดลดลง 0%) และการปลูกไมยืนตน 53.94% ปาไม

               28.56% และพืชอื่นๆ 17.7% ใหปริมาณน้ําทาเฉลี่ยในทุกๆ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศต่ํากวาสถานการณ

               ที่มีการปลูกขาวโพดเทาเดิม (50%) และการปลูกขาวโพดเพิ่มขึ้น (80%)  และสถานการณการลดการปลูก

               ขาวโพด (ขาวโพดลดลง 0%) และการปลูกไมยืนตน 53.94% ปาไม 28.56% และพืชอื่นๆ 17.7%  เกิดการ

               สูญเสียจากการคายระเหยมากขึ้น การไหลใตผิวดินจากดานขางมากขึ้น และน้ําไหลซึมลงสูน้ําบาดาลมากขึ้น

               กวาสถานการณที่มีการปลูกขาวโพดเทาเดิม (50%) และการปลูกขาวโพดเพิ่มขึ้น (80%) เนื่องจากสถานการณ

               ที่พื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้น หรือไมยืนตน ปาไมและพืชอื่นๆ เหลานี้คายน้ําในชวงกลางวันที่สูงกวาสถานการณพื้นที่ที่

               ปลูกขาวโพดเทาเดิม หรือเพิ่มพื้นที่เปน 80% ตนไมใหญชวยชะลอการไหลของน้ําจึงทําใหเกิดการไหลลง

               ดานขาง และไหลลงสูน้ําบาดาลสูงขึ้น


                       การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินตามสถานการณการคงพื้นที่ปลูกขาวโพดและสถานการณการ

               เพิ่มพื้นที่ปลูกขาวโพดภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศแบบ A2 และ B2 สงผลใหปริมาณ


               ตะกอนมากที่สุด และเมื่อทําการจําลองปริมาณตะกอนในสถานการณ การลดจํานวนพื้นที่ปลูกขาวเลี้ยงสัตว
               และสถานการณการปลูกไมยืนตน 53.94% ปาไม 28.56 % และพืชอื่นๆ 17.7% ภายใตสถานการณการ


               เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศแบบ A2 และ B2 ใหปริมาณตะกอนต่ําที่สุด แสดงใหเห็นวาเมื่อพื้นที่ปาไมลดลงและ
               พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวเพิ่มมากขึ้นปริมาณตะกอนเพิ่มขึ้นเชนกัน



                       ปญหาที่พบมากในพื้นที่ศึกษาคือ 1. แหลงน้ํา ความตองการเรงดวนของชุมชนคือ ตองการฝาย อาง

               เก็บ ประปาหมูบาน คลองสงน้ํา ฝายน้ําลน ประปาภูเขา ปรับปรุงอางเก็บน้ํา ขุดสระน้ํา สรางฝาย ฝายตนน้ํา

               บอบาดาล และถังเก็บน้ํา ทั้งเพื่อการเกษตรในชวงฤดูแลง และน้ําเพื่ออุปโภคบริโภค 2. การจัดการเรื่องที่ดิน

               นโยบายที่ดิน การแกไขปญหาที่ดินทํากินในปจจุบัน ทุกฝายตองรวมมือกันอยางจริงจังในการแกไขปญหาเรื่อง

               ที่ดินทํากินในสังคมไทยอยางแทจริง เพราะยังไมมีนโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอยางเปนระบบ เพื่อ

               การกระจายการถือครองที่ดินอยางเปนธรรม โดยการใชมาตรการหลายมาตรการพรอมกันในการแกไขปญหา

               โครงสรางการถือครองที่ดินที่เปนอยู คือการปฏิรูปที่ดินโดยชุมชน เพื่อใหชุมชนมีสวนรวมในการดูแลจัดการ

                                                                                                         v
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12