Page 4 -
P. 4

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                     บทสรุปสําหรับผูบริหาร (Executive Summary)

                       เกษตรกรรมบนพื้นที่สูงและปญหาหมอกควันเปนปญหาซ้ําซากที่มักเกิดจากการเผาเศษซากวัสดุทาง

               การเกษตร การศึกษานี้ประกอบดวย 4 วัตถุประสงค คือ 1) เพื่อประเมินประสิทธิภาพการใชประโยชนที่ดินใน

               การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ และเกษตรผสมผสาน โดยการประเมินผลผลิต ตนทุนและ

               ผลตอบแทน และการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาเศษซากวัสดุทางการเกษตร ในสถานการณ

               ปจจุบัน 2) เพื่อประเมินผลผลิต และการสูญเสียธาตุอาหาร (ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส) ภายใตสถานการณ

               สภาพภูมิอากาศในอนาคต ดวยแบบจําลอง EPIC (Environmental Policy Integrated Climate) 3) เพื่อ

               ประเมินปริมาณน้ําทาและตะกอน ของแตละรูปแบบการใชประโยชนที่ดิน ภายใตสถานการณสภาพภูมิอากาศ


               ในอนาคต ดวยแบบจําลอง SWAT (Soil and Water Assessment Tool) และ 4) เพื่อวิเคราะหนโยบายของ
               รัฐบาลถึงผลกระทบของแตละนโยบายตอเกษตรกร



                       พื้นที่ศึกษาคือลุมน้ําแมแจม จังหวัดเชียงใหม กลุมเปาหมาย ประกอบดวยเกษตรกรผูปลูกขาวโพด

               เลี้ยงสัตว ขาวโพดเมล็ดพันธุ และการทําเกษตรแบบผสมผสาน โดยเกษตรผสมผสานในการศึกษานี้หมายถึง

               ระบบการเกษตรที่มีการเพาะปลูกพืชมากกวา 2 ชนิดขึ้นไปอยูในพื้นที่เดียวกัน โดยเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ

               และเกษตรกรนิยมปลูกในลุมน้ําแมแจม เชน ถั่วลิสง มันฝรั่ง ถั่วเหลือง ฟกทอง ผักกาด สตอเบอรรี่ กะหล่ําป

               หอมแดง ผักชี อะโวคาโด กาแฟ และผักสวนครัวตางๆ พื้นหนวยยอย ขนาด 0.03 x 0.03 องศา ไดถูกสรางขึ้น

               เปนพื้นที่วงรอบปด (polygon) ครอบคลุมพื้นที่ 3 x 3 กิโลเมตร เพื่อใชเปนตัวแทนของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยง

               สัตว ขาวโพดเมล็ดพันธุ และเกษตรผสมผสาน แบบจําลอง EPIC ไดถูกนํามาใชเพื่อประเมินผลผลิตขาวโพด

               เลี้ยงสัตว ขาวโพดเมล็ดพันธุ และเกษตรผสมผสาน และการสูญเสียธาตุอาหาร (ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส)

               ภายใตสถานการณสภาพภูมิอากาศในอนาคต ตนทุน ผลตอบแทน และการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจาก

               การเผาเศษซากวัสดุทางการเกษตรคํานวณและเปรียบเทียบในแตละการใชประโยชนที่ดิน การประเมิน

               ปริมาณน้ําทาและตะกอน ของแตละรูปแบบการใชประโยชนที่ดินภายใตสถานการณสภาพภูมิอากาศใน

               อนาคตประเมินดวยแบบจําลอง SWAT  ภายใตการจําลอง 4 สถานการณ คือ ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพด

               เมล็ดพันธุ เทาเดิม (50%) ขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ ลดลง (0%) ขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ด

               พันธุ เพิ่มขึ้น (80%) และ ปลูกไมผลยืนตน 53.94% ปาไม 28.56% และพืชอื่นๆ17.7%


                       ผลการศึกษาสภาพเศรษฐกิจสังคม กรณีการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ในพื้นที่ ต. แมศึก ต. แมนาจร

               ต. ทาผา ต. ปางหินฝน ต. กองแขก ต. บานทับ ต. ชางเคิ่ง และ ต. บานแดด พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
               สวนมากอยูนอกพื้นที่ชลประทานหรือหากเปนพื้นที่ชลประทานก็เปนระบบประปาภูเขา ครัวเรือนมีจํานวน

               ประชากรระหวาง 2-5 คนและพบมากที่สุดระหวาง 6-8 คน ชวงอายุประชากรที่พบมากที่สุดในชวง 31-50 ป


                                                                                                         ii
   1   2   3   4   5   6   7   8   9