Page 5 -
P. 5

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               ประมาณรอยละ 50 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา เกือบทุกครัวเรือนมีผูที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรี

               รอยละ 40 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ประชากรมีการยายถิ่น กรณีปลูกขาวโพดเมล็ดพันธุ  ในพื้นที่ ต.
               ทาผา ต.ชางเคิ่ง และ ต. กองแขก มีเพียงพื้นที่ใน ต. ทาผาแหงเดียวที่อยูในพื้นที่ชลประทาน นอกจากนั้นอยู

               นอกพื้นที่ชลประทาน ครัวเรือนมีจํานวนประชากรระหวาง 2-5 คน ชวงอายุระหวาง 21-60 ป สวนมาก

               ประชากรจบการศึกษาระดับประถมศึกษา รอยละ 40 ประกอบอาชีพเกษตรกร รอยละ 100 ของจํานวน
               ประชากรในตําบลอาศัยอยูดวยกัน กรณีเกษตรผสมผสาน พื้นที่ ต. แมศึก ต. ปางหินฝน ต. กองแขก ต. บาน

               ทับ ต. ชางเคิ่ง ต.แจมหลวง ต. บานจันทร ต. แมแดด รอยละ 100 ตั้งอยูนอกพื้นที่ชลประทาน จํานวนคนใน
               ครัวเรือนระหวาง 2-5 คน ชวงอายุระหวาง 21-50 ป สวนมากจบการศึกษาระดับประถมศึกษา ประชากรใน

               ตําบลมากกวารอยละ 40ประกอบอาชีพเกษตรกร ประชากรในตําบลมีการอพยพยายถิ่น


                       คาใชจายในกระบวนการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ขาวโพดเมล็ดพันธุ และเกษตรผสมผสาน

               ประกอบดวยคาเชาที่ดิน คาเตรียมดิน คาจัดการน้ํา ราคาเมล็ดพันธุ คาจางปลูก คาปุย คากําจัดวัชพืช คาเก็บ

               เกี่ยวผลผลิต จากการศึกษาพบวาตนทุนการผลิต 3 อันดับแรกของขาวโพดเลี้ยงสัตวและขาวโพดเมล็ดพันธุ

               เหมือนกัน คือ คาปุย คาเตรียมดิน และคาจางปลูก ตนทุนการผลิต 3 อันดับแรกของเกษตรผสมผสาน คือ คา

               ปุย คากําจัดวัชพืช และคาเก็บเกี่ยว ตนทุนของการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยูระหวาง 1,987-4,071 บาท/ไร

               ผลผลิตเฉลี่ยระหวาง 876-2,083 กก./ไร ตนทุนขาวโพดเมล็ดพันธุอยูระหวาง 1,071-3,520 บาท/ไร ผลผลิต

               เฉลี่ย 800-1,852 กก./ไร  ตนทุนเกษตรผสมผสานอยูระหวาง 5,084-30,564 บาท/ไร ผลผลิตเฉลี่ย 670-

               8,350 กก./ไร    และเมื่อเปรียบเทียบ B/C ratio พบวา การปลูกเกษตรผสมผสานมีคาเทากับ 2.04 ซึ่งมี

               ความคุมทุนมากกวาการปลูกขาวโพดเมล็ดพันธุ (1.94) และขาวโพดเลี้ยงสัตว (1.74)


                       ความหนาแนนของคารบอนที่สะสมในดิน (soil organic carbon density: SOCD) พบวา SOCD มี

               ความสัมพันธในเชิงบวกกับระดับความสูงจากน้ําทะเล ปริมาณ Clay, Soil moisture และ Exchangeable

               Potassium และพบวาผลผลิตของขาวโพดเลี้ยงสัตวและขาวโพดเมล็ดพันธุมีความสัมพันธเชิงบวกกับ SOCD

               นอกจากนี้พบวา SOCD ของระบบเกษตรผสมผสานสวนใหญสูงกวา SOCD ของขาวโพดเลี้ยงสัตวและขาวโพด

               เมล็ดพันธุ การประเมินปริมาณผลผลิตของขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุภายใตการเปลี่ยนแปลง

               สภาพภูมิอากาศดวยแบบจําลอง EPIC พบวาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายใต A2 scenarios ทั้งสอง

               ชวงเวลา สงผลกระทบในเชิงบวกตอปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ ในทางตรงกันขาม

               การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายใต B2 scenarios ทั้งสองชวงเวลาสงผลกระทบในเชิงลบตอปริมาณ

               ผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ จากการประเมินอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอ

               ปริมาณผลผลิตของเกษตรผสมผสานดวยแบบจําลอง EPIC พบวาปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพด

               เมล็ดพันธุของทั้งสองพื้นที่เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันคือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายใต A2


                                                                                                        iii
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10