Page 10 -
P. 10

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ความหนาแนนของคารบอนที่สะสมในดิน (soil organic carbon density: SOCD) พบวา

               SOCD มีความสัมพันธในเชิงบวกกับระดับความสูงจากน้ําทะเล ปริมาณ Clay, Soil moisture และ

               Exchangeable Potassium และพบวาผลผลิตของขาวโพดเลี้ยงสัตวและขาวโพดเมล็ดพันธุมีความสัมพันธเชิง

               บวก SOCD นอกจากนี้พบวา SOCD ของระบบเกษตรผสมผสานสวนใหญสูงกวา SOCD ในดินของขาวโพด

               เลี้ยงสัตวและขาวโพดเมล็ดพันธุ สําหรับการประเมินปริมาณผลผลิตของขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ด

               พันธุภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดวยแบบจําลอง EPIC พบวาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

               ภายใต A2 scenarios ทั้งสองชวงเวลาสงผลกระทบในเชิงบวกตอปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพด

               เมล็ดพันธุ ในทางตรงกันขามการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายใต B2 scenarios ทั้งสองชวงเวลาสงผล

               กระทบในเชิงลบตอปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ จากการประเมินอิทธิพลของการ

               เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอปริมาณผลผลิตของเกษตรผสมผสานดวยแบบจําลอง EPIC พบวาการ

               เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายใต A2 scenarios ทั้งสองชวงเวลาสงผลกระทบในเชิงบวกตอปริมาณผลผลิต

               ขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ ในทางตรงกันขามการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายใต B2

               scenarios ทั้งสองชวงเวลาสงผลกระทบในเชิงลบตอปริมาณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ

               ในขณะที่ภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั้ง A2 และ B2 ทั้ง 2 ชวงเวลาสงกระทบในเชิงบวกตอ

               ปริมาณผลผลิตของมันฝรั่ง และ ถั่วเหลือง การสูญเสียธาตุอาหารในดิน พบวาปริมาณการสูญเสียไนโตรเจน

               และฟอสฟอรัสในพื้นที่เกษตรผสมผสานนอยกวาพื้นที่ที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ ทั้งใน

               สถานการณปจจุบัน และภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศทั้ง 2 scenarios และทั้ง 2

               ชวงเวลา


                       ปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาซากวัสดุทางการเกษตรพบวาปริมาณการ


               ปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาซากขาวโพดเมล็ดพันธุ (67%) สูงกวาขาวโพดเลี้ยงสัตว (17.89%) และ
               เกษตรผสมผสาน (14.82%) หากพิจารณาปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกรวมจากการเผาซากวัสดุทาง


               การเกษตรรายตําบลจากสูงไปต่ําดังนี้ ปางหินฝน>บานทับ> แมนาจร> แมศึก> ทาผา> กองแขก>แมแดด>
               แจมหลวง>ชางเคิ่ง และไมพบการปลดปลอยกาซเรือนกระจกหลังการเก็บเกี่ยวที่บานจันทร และจํานวน


               สมาชิกในครัวเรือนมีอิทธิพลเชิงลบตอปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจกและเปนเพียงปจจัยเดียวที่มี
               ความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จากการศึกษาถึงผลกระทบตอสมดุลน้ํา ปริมาณน้ําทาและปริมาณ


               ตะกอนภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินที่แตกตางกันโดยใหความสําคัญที่การเพิ่ม/
               ลดลงของพื้นที่การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยตั้งสมมุติฐาน 4 แบบคือ มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกขาวโพด


               เทากับ รอยละ 0 รอยละ 50 รอยละ 80 และ ปลูกไมยืนตน 53.94% ปาไม 28.56% และพืชอื่นๆ 17.7%


                                                                                                       viii
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15