Page 22 -
P. 22
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
หรือ “ข้าวไวแสง” ซึ งเป็นข้าวที ออกตามฤดูกาล ข้าวที มีลักษณะจําเพาะที ต้องทําในนาปี ได้แก่ ข้าวหอม
มะลิ (วรุฒ แสนสุข 2553)
ข้าวหอมมะลิ (Thai jasmine rice) (Official name “Thai Hom Mali”) เป็นสายพันธุ์ข้าวที มีถิ นกําเนิด
ในประเทศไทย ถือเป็นข้าวคุณภาพ ข้าวหอมมะลิถูกจัดเป็นข้าวนาปี ปลูกได้เพียงปีละ1 ครั ง ลักษณะ
ข้าวเปลือกเรียวยาว เมื อสีเป็นข้าวสารจะได้ข้าวเมล็ดเรียว ยาว ขาวใสเป็นเงา มีกลิ นหอมคล้ายใบเตย เป็น
พันธุ์ข้าวที นิยมบริโภคอย่างแพร่หลายทั งในประเทศและต่างประเทศ และเป็นพันธุ์ข้าวที สร้างชื อเสียงให้
ข้าวไทยเป็นที รู้จักทั วโลก ข้าวหอมมะลิในปัจจุบันที นิยมปลูกและบริโภคกันอย่างแพร่หลาย คือ พันธุ์ขาว
ดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข. 15 ซึ งปัจจุบันข้าวหอมมะลิมีราคาตกตํ าเรื อย ๆ เนื องจากข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1
ให้ผลผลิตสูงกว่าข้าวหอมมะลิ 105 โดยผลผลิตต่อไร่เฉลี ย 80 – 100 ถังต่อไร่ ปลูกได้หลายครั งต่อปี และ
สามารถปลูกได้ดีในที ลุ่มบริเวณที ราบภาคกลาง ขณะที ข้าวหอมมะลิ 105 นั น จะให้ผลผลิตต่อไร่ เพียง 30 –
40 ถังต่อไร่ และปลูกได้ดีในบางพื นที เท่านั น
ประเทศไทยถือเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที มีคุณภาพดีที สุดแห่งหนึ ง โดยมีแหล่งเพาะปลูกสําคัญ
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (เขตทุ่งกุลาร้องไห้) และมีพื นที เพาะปลูกครอบคลุมมากกว่า 19 ล้านไร่ทั ว
ประเทศ โดยมีแหล่งผลิตสําคัญ คือ จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ นครราชสีมา อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด
รองลงมา คือ ภาคเหนือ เนื องจากสภาพดินฟ้าอากาศและพื นที เพาะปลูกของทั งสองภาคมีความคล้ายคลึงกัน
เหมาะแก่การเจริญเติบโตของข้าวหอมมะลิ กล่าวคือ สภาพพื นที ส่วนใหญ่เป็นที ดอน ฝนจะเริ มตกตั งแต่
เดือนพฤษภาคม ชาวนาจะเริ มหว่านไถในเดือนมิถุนายน และเพาะปลูกในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม
เมื อเริ มสิ นสุดฤดูฝนในช่วงปลายเดือนตุลาคมจนถึงต้นเดือนพฤศจิกายนจึงเริ มเก็บเกี ยว เนื องจากในช่วง
เวลาดังกล่าวความชื นจะน้อยเพราะเป็นช่วงที ลมหนาวจากเมืองจีนเริ มพัดเข้ามาในสองภาคนี ทําให้อากาศ
แห้งเหมาะแก่การเก็บเกี ยว การตาก และการนวด เพราะนํ าในไร่นาแห้งหมดแล้ว ไม่มีฝน จึงทําให้ได้เมล็ด
ข้าวที มีคุณภาพ
ข้าวหอมมะลิที นิยมปลูกและบริโภคกันอย่างแพร่หลายคือพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข. 15
ความหอมของข้าวหอมมะลิ เกิดจากสารระเหยชื อ 2- acetyl- 1- pyroline ซึ งเป็นสารที ระเหยหายไปได้ การ
รักษาความหอมของข้าวหอมที ดีต้องเริ มตั งแต่ การเก็บเกี ยว การเก็บรักษาข้าวเปลือกการสีข้าว และการเก็บ
รักษาข้าวที สีเรียบร้อยแล้วการจะรักษาความหอมของข้าวเอาไว้ต้องพยายามหลีกเลี ยงภาวะแวดล้อมที ร้อน
อบอ้าว และมีความชื นสูง การตากแดดที ร้อนจัดเป็นเวลานาน ๆ โดยสภาวะที เหมาะสมคือที ที มีอากาศ
ค่อนข้างเย็น มีการถ่ายเทของอากาศดี ความชื นไม่สูง
ข้าวนาปรังคือข้าวที เพาะปลูกระหว่างวันที 1 พฤศจิกายน ถึง 30 เมษายนของปีถัดไป ยกเว้นใน
จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส หมายถึงข้าวที เพาะปลูกในระหว่าง
วันที 1 มีนาคมถึง 15 มิถุนายนของปีเดียวกัน นั นหมายความว่า ข้าวนาปรังคือข้าวที ต้องทํานอกฤดูทํานา
เพราะในฤดูทํานา ปริมาณนํ าจะมากเกินไป นอกจากนี ข้าวที ใช้ทํานาปรังเป็นข้าวที แสงไม่มีอิทธิพลต่อการ
ออกดอก จึงเรียกว่า “ข้าวนาปรัง” หรือ “ข้าวไม่ไวแสง” ซึ งเป็นข้าวที ออกตามอายุไม่ว่าจะปลูกเมื อใด พอ
2-2