Page 17 -
P. 17
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ความเป็นไปได้ที จะเกิดการเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคา แต่ยังมุ่งเน้นถึงการวิเคราะห์หาปัจจัยหรือ
เหตุการณ์ที อาจเป็นสาเหตุของการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคา โดยโครงการวิจัยนี ได้ให้ความสําคัญถึงภัย
พิบัติทางธรรมชาติว่าอาจเป็นสาเหตุสําคัญที ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาพืชเศรษฐกิจใน
ประเทศไทย โดยประเทศไทยเองก็ได้ประสบกับภัยพิบัติทางธรรมชาติเรื อยมาในทุก ๆ ปี ภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติในแต่ละครั งก็ส่งผลกระทบแตกต่างกันออกไป (รายละเอียดข้อมูลภัยพิบัติทางธรรมชาติใน
ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2527 – 2559 จากฐานข้อมูล EM-DAT ในภาคผนวก ก)
การศึกษาในโครงการวิจัยนี ยังช่วยให้ทราบว่าการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคานั นเกิดขึ นบ่อย
หรือไม่ อย่างไร ตลอดจนรูปแบบของการเปลี ยนแปลง ซึ งข้อมูลดังกล่าวจะช่วยในการประเมินความเสี ยงที
เกษตรกรต้องเผชิญในการปลูกพืชเศรษฐกิจแต่ละชนิด นอกจากนั นการศึกษาในโครงการวิจัยนี ยังทําให้
ทราบถึงช่วงเวลาที จะก่อให้เกิดผลกระทบ (time lag effects) ซึ งเป็นข้อมูลที สําคัญแก่เกษตรกรในการ
ปรับตัวและวางแผนรับมือกับผลกระทบได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและทันท่วงที ทั งนี ข้อมูลดังกล่าวสามารถ
ช่วยรัฐบาลในการออกแบบนโยบายทางการเกษตรระยะยาว เช่น นโยบายการบริหารความเสี ยงเพื อลด
ผลกระทบจากความผันผวนของราคาซึ งส่งผลกระทบต่อรายได้และความเป็นอยู่ของเกษตรกร
นอกจากการทราบถึงช่วงเวลาและสาเหตุที น่าจะก่อให้เกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาแล้ว การ
ทราบถึงช่องทางที ภัยพิบัติทางธรรมชาติส่งผลกระทบต่อโครงสร้างราคาก็มีความสําคัญไม่น้อย ผลกระทบ
ของภัยพิบัติต่อโครงสร้างราคามีความซับซ้อนอย่างไรก็ตาม ภัยพิบัติทางธรรมชาติน่าจะส่งผลกระทบต่อ
การผลิตและประสิทธิภาพการผลิตภายในประเทศ ตลอดจนการส่งออกและการนําเข้า การศึกษาถึงช่อง
ทางการส่งผ่านผลกระทบจะทําให้ทราบถึงพฤติกรรมของเกษตรกรที เพาะปลูกพืชแต่ละชนิด ตลอดจน
พฤติกรรมของผู้ส่งออกและผู้นําเข้าที มีต่อภัยพิบัติแต่ละชนิด รวมไปถึงทําให้สามารถเรียนรู้ว่าพฤติกรรม
ดังกล่าวส่งผลกระทบอย่างไรต่อราคาตลาด
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. ศึกษาความเป็นไปได้ในการเกิดการเปลี ยนแปลงของโครงสร้างราคาพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย
2. วิเคราะห์เชื อมโยงผลการประมาณการช่วงเวลาที น่าจะเกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาพืช
เศรษฐกิจกับเหตุการณ์ที เกิดขึ นจริง กล่าวคือ วิเคราะห์หาสาเหตุที ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงในโครงสร้าง
ราคาพืชเศรษฐกิจ อาทิ การเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาเกิดขึ นอันเนื องมาจากภัยพิบัติทางธรรมชาติหรือไม่
3. ศึกษาหาช่องทางที ภัยพิบัติทางธรรมชาติส่งผลกระทบต่อโครงสร้างราคาพืชผล โดยอาศัยข้อมูลทาง
เศรษฐกิจและการเกษตร อาทิ เช่น ผลผลิตมวลรวมของประเทศ (GDP) ประสิทธิภาพในการเพาะปลูกและ
ปริมาณผลผลิต
1-3